Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10016
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพาวิน มะโนชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพัชรา แสนสุข, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-26T03:36:56Z-
dc.date.available2023-10-26T03:36:56Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10016-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.(เกษตรศาสตร์และสหกรณ์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การผลิตลำไยของเกษตรกรผู้ผลิตลำไยในภาคเหนือของประเทศไทย 2) การใช้เทคโนโลยีในการผลิตลำไยของเกษตรกรผู้เชี่ยวชาญ 3) ความแตกต่างของการใช้เทคโนโลยีในการผลิตลำไยของเกษตรกรทั่วไปและเกษตรกรผู้เชี่ยวชาญ 4) ความต้องการการส่งเสริมของเกษตรกรผู้ผลิตลำไยในภาคเหนือของประเทศไทย 5) พัฒนาโมเดลการส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตลำไยสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของเกษตรกรผู้ผลิตลำไยในภาคเหนือของประเทศไทย และ 6) ประสิทธิผลของโมเดลการส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตลำไยสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของเกษตรกรผู้ผลิตลำไยในภาคเหนือของประเทศไทย ประชากร เป็นเกษตรกรผู้ผลิตลําไยภาคเหนือ จํานวน 11,819 ราย และเกษตรกรผู้เชี่ยวชาญ จํานวน 30 ราย กําหนดกลุ่มตัวอย่าง ศึกษาจากการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเกษตรกรผู้ผลิตลำไยในภาคเหนือ จํานวน 200 ราย โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย สัมภาษณ์เชิงลึกเกษตรกรผู้เชี่ยวชาญ จํานวน 30 ราย และทดสอบโมเดลกับนักส่งเสริมการเกษตร/นักวิชาการ/ผู้เชี่ยวชาญด้านการส่งเสริมการผลิตลําไย รวมทั้งหมด 10 ราย โดยการคัดเลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง วิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์เนื้อหา วิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงเปรียบเทียบ วิเคราะห์ปัจจัย วิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอก และวิเคราะห์กำหนดแนวทางแก้ไข จากนั้นทําการสังเคราะห์เป็นโมเดลต้นแบบและประเมินประสิทธิผลของโมเดล ผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกลำไยพันธุ์อีดอ ในดินร่วนปนทราย ปลูกระยะ 8x8 ม. ใส่ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ในระยะเตรียมต้น ระยะออกดอก และระยะสร้างผล ให้น้ำ 1 ครั้ง/สัปดาห์ มีการคัดเกรดผลผลิตลำไย โดยขายลำไยเอง ขายผ่านพ่อค้าคนกลาง และขายเหมาทั้งสวน และมีการแปรรูปเป็นลำไยอบแห้ง 2) การใช้เทคโนโลยีในการผลิตลำไยของเกษตรกรผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ การปลูกลำไยระบบชิด การวิเคราะห์ขาตุอาหารในดิน การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินหรือปุ๋ยสั่งตัด การปรับปรุงบำรุงดินโดยอินทรียวัตถุ การผลิตลำไยออกนอกฤดู การจัดการโรคและแมลงลำไยโดยวิธีผสมผสาน (PM) การตัดแต่งกิ่งลำไยทรงพุ่มเตี้ย การตัดแต่งช่อผลลําไย และการปฏิบัติตามมาตรฐาน GAP 3) การใช้เทคโนโลยีในการผลิตลำไยของเกษตรกรทั่วไปและเกษตรกรผู้เชี่ยวชาญ มีความแตกต่างกัน (p<0.05) โดยเกษตรกรผู้เชี่ยวชาญปฏิบัติในระดับมาก ส่วนเกษตรกรทั่วไปปฏิบัติในระดับน้อย 4) ความต้องการการส่งเสริมของเกษตรกรทั่วไป ภาพรวมอยู่ในระดับมาก สําหรับเกษตรกรผู้เชี่ยวชาญภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 5) โมเดลการส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตลำไยสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของเกษตรกรผู้ผลิตลำไยในภาคเหนือของประเทศไทย มีองค์ประกอบ 4 ส่วน คือ (1) ส่งเสริมการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สร้างโอกาสทางการตลาดและเพิ่มรายได้จากการผลิตลำไยนอกฤดู (2) ส่งเสริมการผลิตตามมาตรฐาน GAP และเทคโนโลยีที่เหมาะสม (3) ส่งเสริมการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ (4) ส่งเสริมด้านการผลิตเพื่อความยั่งยืน 6) ประสิทธิผลของโมเดลการส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตลำไยการพัฒนาที่ยั่งยืนของเกษตรกรผู้ผลิตลำไยโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ดังนั้น โมเดลจึงมีความเหมาะสม มีความเป็นไปได้ในการนำไปปฏิบัติ มีความสอดคล้องกับบริบท และมีความเป็นประโยชน์ในการส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตลำไยสามารถนําไปใช้ได้จริงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectลำไย--การผลิต--ไทย (ภาคเหนือ)th_TH
dc.titleโมเดลการส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตลำไยสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของเกษตรกรผู้ผลิตลำไยในภาคเหนือของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeLongan technology extension model for sustainable development by longan farmers in Northern Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study: 1) longan production process of longan farmers in northern Thailand, 2) the utilization of technology in longan production of best practice farmers, 3) the differences in the technology application of longan production between normal longan farmers and best practice longan farmers, 4) the needs for extension of longan production farmers in northern Thailand, 5) the development of technology extension model into sustainability of longan production farmers in northern Thailand, and 6) the efficiency of longan technology extension model to sustainable development of longan production farmers in northern Thailand. The population of the study was 11,819 longan farmers and 30 best practice farmers in the northern region. The sample size of 201 longan farmers was determined by conducting structured interview to longan production farmers in the northern ,simple random samplig ,30 best practice farmers was determined by conducting in-depth and 10 agricultural extension officers/academic officers/specialists was determined by testing the models,purposive sampling .Data was analyzed by using descriptive statistics, content analysis, t-test, factor analysis, SWOT analysis, and TOWS matrix. Then, the data was synthesized into prototype model and efficiency evaluation of model. The results of the study revealed that: 1) most of farmers grew Edo by sandy loam field with spacing 8x8 m. Chemical fertilizers with organic fertilizers were applied in the early preparation, flowering and fruiting stages and watering 1 time a week. Longan yields were graded and sold by farmer and merchants, and made into dried longan products. 2) The utilization of technology in longan production of best practice farmers were such as aligned system of longan production, soil nutrient analysis, fertilizer application according to soil analysis or tailor-made fertilizer, soil improvement by using organic materials, off-season longan production, disease and pest control with IPM method, longan tree pruning, fruit bouquet trimming, and Good Agricultural Practice. 3) The differences in longan production technology of general farmers and best practice farmers were such as the level of practice in adopting longan production technology of best practice farmers, overall, was at the high level. In regards to the level of practice in adopting longan production technology of general farmers, overall, were at the low level . In conclusion, general longan production farmers and best practice longan production farmers had different level of practice (sig < 0.05). 4) The extension needs for longan production farmers in northern Thailand. For general farmers, the extension level, overall, was at the high level. In regards to the extension level of best practice farmers, overall, was at the highest level. 5) Technology extension model in longan production to sustainable development of longan production farmers in northern of Thailand consisted of 4 components: (1) the extension of cost reduction and production efficiency increase, creating market opportunity and increasing revenue from off-season longan production. (2) The production extension according to GAP standard and appropriate technology. (3) The extension of environmentally friendly production, and (4) the extension of sustainable production. 6) The study of model efficiency in technology extension of longan production into sustainable development of longan production farmers in northern Thailand, overall, was at the highest level . Hence, the model was appropriate, probable for adoption, consistent with the context, and beneficial for technology extension of longan production that can be used in real lifeen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168831.pdfเอกสารฉบับเต็ม37.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons