Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10023
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจิตรา รอดสมบุญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกาญจภรณ์ แก้วมณี, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-10-26T04:13:04Z-
dc.date.available2023-10-26T04:13:04Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10023-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาด 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลกับการมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจรวบรวมผลิตผลของสมาชิก 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับการมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจรวบรวมผลิตผลของสมาชิก และ 4) เพื่อให้ข้อเสนอแนะ ประชากรที่ศึกษา คือ สมาชิกสหกรณ์ชาวสวนปาล์มน้ามันรายย่อยกระบี่ จํากัด ณ วันสิ้นปีบัญชี 30 มิถุนายน 2564 จํานวน 315 ราย ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 176 ราย ได้จากการคำนวณของทาโรยามาเน่ที่ค่าความคลาดเคลื่อน 0.05 โดยใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบไคสแควร์ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า สมาชิกสหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ ระหว่าง 41-50 ปี การศึกษาประถมศึกษา สถานภาพสมรส ระยะเวลาการเป็นสมาชิก 11 – 15 ปี พื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน 21 - 30 ไร่ ผลิตผลเฉลี่ยต่อรอบการจําหน่ายมากกว่า 5,000 กิโลกรัมขึ้นไป รายได้ครัวเรือนต่อเดือน 20,001 - 30,000 บาท และรายจ่ายครัวเรือนต่อเดือน กว่าเท่ากับ 20,000 บาท 1) ระดับปัจจัยส่วนประสมการตลาดของสมาชิกสหกรณ์ด้านผลิตผล ด้านราคา ด้านสถานที่และการขนส่ง ด้านบุคลากรและการให้บริการ ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการ อยู่ในระดับมาก ส่วนด้านการส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับน้อย 2 ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจรวบรวมผลิตผลของสมาชิกสหกรณ์ คือ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส ระยะเวลาการเป็นสมาชิก พื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน ผลิตผลเฉลี่ยต่อรอบการจำหน่ายรายได้ครัวเรือนต่อเดือน รายจ่ายครัวเรือนต่อเดือน 3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจรวบรวมผลิตผลของสมาชิกสหกรณ์ คือ ด้านผลิตผล ด้านราคา ด้านสถานที่และการขนส่ง ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากรและการให้บริการ ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการ 4) ข้อเสนอแนะ คือ สหกรณ์ควรมีการจัดกิจกรรมให้สมาชิกสหกรณ์มีส่วนร่วมในการทํากิจกรรมร่วมกันเพื่อสร้างความสามัคคี ทําให้สมาชิกรู้สึกผูกพันและรักองค์กร รวมทั้งประชาสัมพันธ์ข่าวสารแก่สมาชิกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์ชาวสวนปาล์มน้ำมันรายย่อยกระบี่--สมาชิกth_TH
dc.subjectความร่วมมือทางการเกษตรth_TH
dc.subjectการตลาดสหกรณ์ของผลิตผลเกษตรth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจรวบรวมผลิตผลของสมาชิกสหกรณ์ชาวสวนปาล์มนํ้ามันรายย่อยกระบี่ จำกัดth_TH
dc.title.alternativeParticipation in business of collecting product of members of the small Oil Palm Cooperative Krabi Limited, Krabi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study 1) the level of importance of marketing mix factors 2) the relationship of personal factors with the participation in business of collecting product 3) the relationship of marketing mix factors with the participation in business of collecting product and 4) recommendations. The population of this study was 315 members of the Small Oil Palm Cooperative Krabi Limited at the end of the fiscal year on 30 June 2021. The sample size of 176 people was determined by Taro Yamane with the error value of 0.05. Data were collected using questionnaires with simple random sampling method. Statistics used frequency, percentage, mean, standard deviation, Chi-square, and content analysis. The results of the study found that the most of members were male, age 41 – 50 years, primary school education, married and membership period 11-15 years. The oil palm area was 21–30 rai, the average product per sales more than 5,000 kilograms, monthly household income 20,001 - 30,000 baht and monthly expenditure less than/equal to 20,000 baht. 1) The level of importance of marketing mix factors regarding product, price, place and transportation, personnel and service, physical characteristics, and process were at the high level. For marketing extension was at the low level. 2) The personal factors related to the participation in business of collecting product of members were gender, age, education, marriage status, membership period, oil palm area, average product per sales, monthly household income and monthly expenditure. 3) The marketing mix factors related to the participation in business of collecting product of members were product, price, place and transportation, marketing extension, personnel and service, physical characteristics and process. 4) The recommendations were the cooperative should organize activities for members to participate in order to unity and loyalty including publicizing the information and news to membersen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons