Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1007
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุ่งพงษ์ ชัยนาม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorประพนธ์ เจียรกูล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนวัต บุญธรักษา, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-25T08:28:45Z-
dc.date.available2022-08-25T08:28:45Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1007-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2548th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยมีวัตถุประสงค์ 4 ประการคือ (1) ศึกษาความเป็นมา โครงสร้างอำนาจหน้าที่ภารกิจ นโยบาย บุคลากร งบประมาณ และผลการดำเนินงานของศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (2) ศึกษาสาเหตุของการยุบศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (3) ศึกษาผลกระทบหลังการยุบศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดขายแดนภาคใต้ (4) เสนอยุทธศาสตร์การบริหารราชการในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่เหมาะสม ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการศึกษาค้นคว้าจากข้อมูลเอกสารเป็นหลัก การสังเกตสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ การสัมภาษณ์ ผู้นำชุมชนผู้นำท้องถิ่น ข้าราชการ และนำข้อมูลมาประมวลศึกษาวิเคราะห์แบบพรรณนา พร้อมเหตุผลและการอ้างอิง มีข้อมูลบางส่วนเป็นลักษณะของการคาดคะเน ผลการศึกษาพบว่า การยุบเลิกศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นการกำหนดนโยบายที่ผิดพลาด เนื่องจาก (1) การยุบเลิกหน่วยงานไม่มีการเตรียมความพร้อมของหน่วยงานที่จะเข้าไปรับภารกิจต่อ (2) บทบาทของผู้ว่าราชการจังหวัด (ซีอีโอ) ไม่มีภารกิจด้านความมั่นคง (3) การตั้งสมมติฐานผิดที่ว่าไม่มีขบวนการแบ่งแยกดินแดนเคลื่อนไหวในพื้นที่ ทำให้การกำหนดนโยบายใหม่มีความผิดพลาดส่งผลกระทบตามมาอย่างมากมาย (4) ขาดองค์กรในการอำนวยการในพื้นที่ ทำให้การแก้ไขปัญหาไม่มีแนวทางที่ชัดเจน (5) การปฏิรูประบบราชการส่งผลกระทบต่อหน่วยงานระดับปฏิบัติ นอกจากนี้ ยังพบว่า เจ้าหน้าที่ที่ลงไปปฏิบัติงานในพื้นที่ไม่มีความเด้านพื้นฐานทางสังคม ศาสนา วัฒนธรรมประเพณี ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหา ดังนั้น รัฐบาลควรนำนโยบายความมั่นคงแห่งชาติเกี่ยวกับจังหวัดชายแดนภาคใต้ มาเป็นยุทธศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้อีกครั้ง เพึ่อให้การแก้ไขปัญหาครอบคลุมทุกเรื่องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมอบหมายภารกิจ อำนาจ หน้าที่ผ่านหน่วยงานที่จัดตั้งใหม่คือ คณะกรรมการอำนวยการแก้ใขปัญหา จังหวัดชายแดนภาคใต้ และสำนักงานสภาจังหวัดชายแดนภาคใต้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2005.466en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ -- การบริหารth_TH
dc.subjectไทย (ภาคใต้) -- ปัญหาและข้อพิพาทth_TH
dc.subjectไทย (ภาคใต้) -- การเมืองและการปกครองth_TH
dc.titleนโยบายการบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้ : ศึกษาเฉพาะกรณีการยุบศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeAdministration policy for the southern border provinces : a case study of the dissolution of southern border province administrative centerth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2005.466en_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were four fold: (1) To study background, structure authority, mission, policy, personnel, budget and performance of the Center; (2) To study the causes of the Center dissolution; (3) To study the impact of the dissolution; (4) To suggest appropriate strategies on public administration in the southern border provinces of Thailand. This research employed qualitative approach, based upon documentary data, observation of situation in the areas, interview with community and local leaders and government officials. The collected data were processed in the manner of descriptive analysis, inferential reasoning and also, in some part, speculative method. The following showed finding that the dissolution of the center was a mistake in terms of policy-making, owing to the reasons:(1) While dissolving the Center, there was no preparation and readiness of the other existing agencies to resume the responsibility inherited from the Center;(2)Roles of CEO governors in the provinces did not include security mission;(3)The presumption on no operation of separatist movement led to imposing the defective policy causing in turn various impacts;(4)The lack of directing and commanding agency to take up mission in the areas led to the vague approach to address the problem;(5)Bureaucratic reform affected the operating agency. In addition, the government officials working in the areas lack social, religious and cultural background of locality and that resulted in the inefficiency of problem-solving. As such,the government should be able to transfer the security policy on southern border provinces into strategies to tackle the problem in a comprehensive and integrated way. This should begin with designating specific authorities, responsibilities and other necessary tasks to newly established agencies, i.e. the Committee on Tackling the Problems of Southern Border Provinces and the Office of Southern Border Provinces Councilen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib90484.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons