Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10116
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุทธีพร มูลศาสตร์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | นภาเพ็ญ จันทขัมมา, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | กฤศภณ เทพอินทร์, 2529- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-30T08:18:02Z | - |
dc.date.available | 2023-10-30T08:18:02Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10116 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 256 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และความดันเลือดแดงเฉลี่ยในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ที่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลฟากท่า จังหวัดอุตรดิตถ์ มีระดับความดันโลหิตซิสโตลิกระหว่าง 140-179 มิลลิเมตรปรอท หรือระดับความดันโลหิตไดแอสโตลิกระหว่าง 90-109 มิลลิเมตรปรอท ซึ่งกลุ่มตัวอย่างถูกสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (simple random sampling) เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือการวิจัย ประกอบด้วย 1) โปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ซึ่งพัฒนาขึ้นตามแบบจำลองกระบวนการ-ความรู้ของความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีระยะเวลา 10 สัปดาห์ กิจกรรมประกอบด้วย พัฒนาความสามารถเชิงกระบวนการคิด พัฒนาการสื่อสารความรู้ทั่วไป และพัฒนาความรู้ทางสุขภาพเฉพาะโรค 2) คู่มือความรอบรู้ด้านสุขภาพกับการควบคุมความดันโลหิตสูง 3) แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลตนเอง 4) เครื่องวัดความดันโลหิต แบบสอบถามส่วนความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลตนเองมีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ .95 และ 1.00 และมีค่าความเที่ยงคูเดอร์-ริชาดสัน เท่ากับ .94 และค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราค เท่ากับ .80 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติที ผลการวิจัยพบว่า หลังการเข้าร่วมโปรแกรม คะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มทดลองมีค่ามากกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมและมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ส่วนความดันเลือดแดงเฉลี่ยมีค่าน้อยกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมและน้อยกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ความรอบรู้ทางสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | ความดันเลือดสูง--ผู้ป่วย--ไทย--อุตรดิตถ์ | th_TH |
dc.title | ประสิทธิผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ | th_TH |
dc.title.alternative | The effectiveness of a health literacy developmental program in patients with uncontrolled hypertension | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of a quasi-experimental study with two-group pre-test and post-test design were to study the effects of a health literacy developmental program on health literacy, self-care behaviors, and mean arterial pressure of patients with uncontrolled hypertension of patients with uncontrolled hypertension. The sample were patients with uncontrolled hypertension receiving services at Faktha Hospital who had systolic blood pressure 140-179 mmHg or diastolic blood pressure 90-109 mmHg. The sample was selected by the simple random sampling and put into the experimental and comparative groups which each group included 3 5. The research instruments were 1) a health literacy development program that was developed based on the concept of Process-knowledge model of health literacy. The duration of the program was 10 weeks. The activities comprised practicing of processing capacity, development of general verbal knowledge and specific health knowledge. 2) “Health literacy and hypertension control” handbook. 3) a questionnaire of health literacy and self-care behaviors and 4) a digital blood pressure monitor. The content validity indexes of health literacy and self-care behavior questionnaire were .95 and 1.00, respectively. Kuder-Richardson of health literacy questionnaire was .94 and Cronbach’s alpha coefficients of self-care behaviors questionnaire was .80. Data were analyzed by descriptive statistics and t-test. The result revealed that after enrolling the program, mean of health literacy and self-care behaviors of hypertension in the experimental group were significantly higher than before enrolling the program and higher than the comparison group at p-value .05. Mean arterial pressure of the experimental group was significantly lower than before enrolling the program and lower than the comparison group at p-value .05. | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
165007.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 37.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License