Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10134
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดวงกมล ปิ่นเฉลียว, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ทิพย์ฆัมพร เกษโกมล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วลัยภรณ์ ทิพวัลย์, 2530- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-31T02:26:41Z | - |
dc.date.available | 2023-10-31T02:26:41Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10134 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมความตระหนักรู้และการเสริมพลังสร้างสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันการคลอดทารกน้ำหนักน้อยในหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มเสี่ยง อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี กลุ่มตัวอย่างเป็นหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการคลอดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยที่มารับบริการฝากครรภ์ในเครือข่ายโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชบ้านดุง จำนวน 60 คน คัดเลือกแบบเจาะจงแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมส่งเสริมความตระหนักรู้และการเสริมพลังสร้างสุขภาพ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความตระหนักรู้ในตนเอง ร่วมกับแนวคิดพลังสุขภาพ ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ การสร้างความตระหนักรู้ในตนเอง การเสริมสร้างพลังสมอง การสร้างพลังใจ และการสร้างพลังปฏิบัติ และ 2) แบบสอบถามพฤติกรรมป้องกันการคลอดทารกน้ำหนักน้อย มีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 99 และค่าความเที่ยงเท่ากับ 85 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบทีผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการป้องกันการคลอดทารกน้ำหนักน้อยของหญิงตั้งครรภ์กลุ่มเสี่ยงในกลุ่มทดลอง หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การคลอด | th_TH |
dc.subject | สตรีมีครรภ์--การดูแล | th_TH |
dc.title | ผลของโปรแกรมส่งเสริมความตระหนักรู้ในตนเองและการเสริมพลังสร้างสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันการคลอดทารกน้ำหนักน้อยในหญิงตั้งครรภ์กลุ่มเสี่ยง อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี | th_TH |
dc.title.alternative | The effectiveness of a self-awareness promotion and health empowerment program on preventive behaviors regarding low-birth-weight infants among high-risk pregnant women at Ban Dung District, Udon Thani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this quasi-experimental research was to study the effects of a self-awareness promotion and health empowerment program on low-birth-weight infant preventive behaviors of high-risk pregnant women. The sample consisted of 60 pregnant women at risk of giving birth to lowbirth-weight infants who attended the antenatal clinic at the Bandung Crown Prince Hospital network, selected by purposive sampling, and they were divided into the experimental (30) and the comparative (30) groups. The research instruments included: 1) the program for self-awareness and health empowerment promotion. The activities comprised: (1) developing self-awareness (2) head empowerment (3) heart empowerment and (4) hand empowerment; and 2) a low-birth-weight infant preventive behaviors questionnaire, the content validity index (CVI) score of which was .99, and the reliability was .85. Data were analyzed by descriptive statistics and t-test. The result revealed as follows. After receiving the program, low-birth-weight infant preventive behaviors of women in the experimental group were significantly better than before receiving the program, and their behavior was also better than those of women in the comparative group (p<.001). | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
165478.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License