Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10135
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ปิ่นเฉลียว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทิพย์ฆัมพร เกษโกมล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวัชรีวงค์ หวังมั่น, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T02:32:03Z-
dc.date.available2023-10-31T02:32:03Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10135-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนร่วมกับแอปพลิเคชั่นไลน์ต่อความรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง การรับรู้ความสามารถ และพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดสุรินทร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลหญิงที่กำลังศึกษาในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 1 จำนวน 40 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 20 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนร่วมกับแอปพลิเคชั่นไลน์ โดยประยุกต์ใช้แนวคิดการรับรู้ความสามารถของตนเองของแบนดูรา มีระยะเวลาดำเนินการ 8 สัปดาห์ กิจกรรมประกอบด้วย (1) การให้ความรู้และฝึกทักษะ (2) การส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และ (3) การใช้แอปพลิเคชันไลน์ 2) แบบทดสอบความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.83 3) แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และ 4) พฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.88 และ 0.93 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที่ ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง การรับรู้ความสามารถ และพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของนักศึกษาพยาบาลหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเต้านม--การตรวจth_TH
dc.titleประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนในการตรวจเต้านมด้วยตนเองร่วมกับแอปพลิเคชันไลน์ของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดสุรินทร์th_TH
dc.title.alternativeThe effectiveness of a self-efficacy enhancing program with Line application on breast self-examination of nursing student at Boromrajonnanee Nursing College, Surin Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi-experimental research was to study the effects of a selfefficacy enhancing program with Line application for nursing students on knowledge of breast cancer and breast self-examination, self-efficacy, and breast self-examination behaviors. The sample was 40 female nursing students who were studying in the first year of a bachelor’s degree program in nursing science, selected by the simple random sampling technique, and they were divided into the experimental (20) and comparative (20) groups. The research instruments included: 1) a self-efficacy enhancing program with Line application which was developed based on the self-efficacy concepts of Bandura; The duration of the program was 8 weeks; and 2) questionnaires on knowledge of breast cancer and breast selfexamination, self-efficacy, and breast self-examination behaviors. The reliabilities of these three questionnaires were .83, .88 and .93, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics and t-test. The result revealed as follows. After attending the program, the mean scores of knowledge of breast cancer and breast self-examination, self-efficacy, and breast self-examination behaviors of the experimental group were significantly higher than before attending the program, and also higher than the comparative group (p < .05).en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
165476.pdfเอกสาณฉบับเต็ม20.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons