Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10175
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิภาดา แดงมา, 2536--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T07:40:20Z-
dc.date.available2023-10-31T07:40:20Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10175-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงกี่ยวกับประเด็นต่อไปนี้ (1) ความรู้และแหล่งความรู้เกี่ยวกับระบบการผลิตทางการเกษตรที่ดี (2) ความคิดห็นต่อการปฏิบัติตามระบบการผลิตทางการเกษตรที่ดี (3) การยอมรับในการปฏิบัติตามระบบการผลิตทางการเกษตรที่ดีในเชิงความคิดเห็นและในเชิงปฏิบัติ (4) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับการปฏิบัติตามระบบการผลิตหาการเกษตรที่ดี และ (5) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการยอมรับการปฏิบัติตามระบบการผลิตทางการเกษตรที่ดี กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วง ปี พ.ศ. 2562 กับสำนักงานเกษตรอำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวนทั้งหมด 177 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยหา ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าตำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดอับดับ และการวิคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัย พบว่า เกษตรกรเป็นเพศชาย ร้อยละ 52.0 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีพื้นที่ปลูกมะม่วงทั้งหมดเฉลี่ย 12.84 ไร่ มีรายได้จาการจำหน่ายมะม่วงเฉลี่ย 108,146.86 บาท/ปี รายได้นอกภาคการเกษตร เฉลี่ย 56,021.05 บาท/ปี (1) เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตามระบบการผลิตทางการเกษตรที่ดีอยู่ในระดับมากที่สุด และได้รับข้อมูลข่าวสารจากแหล่างต่าง ๆ อยู่ในระดับน้อย โดยเฉพาะประเด็นสื่อออนไลน์ (2) เกษตรกรเห็นด้วยเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระบบการผลิตหาการเกษตรที่ดีอยู่ในระดับมาก (3) เกษตรกรยอมรับการปฏิบัติตามระบบการผลิตทางการเกษตรที่ดีในเชิงความคิดห็นและในเชิงปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเฉพาะการยอมรับประเด็นด้านแหล่งน้ำ คือ แหล่งน้ำที่ใช้เป็นแหล่งน้ำสะอาดปราศจากสารพิษปนเปื้อน รองลงมาในระดับมาก คือ ด้านวัตถุอันตรายทางการเกษตร และด้านการเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลักการเก็บเกี่ยว (4) ปังจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการยอมรับการปฏิบัติตามระบบการผลิตทางการกษตรที่ดี คือ รายได้จากภาคการเกษตร มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับยอมรับการปฏิบัติตามระบบการผลิตหาการกษตรที่ดี ส่วนระดับความคิดเห็นต่อการปฏิบัติตามระบบฯ และระดับการได้รับความรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆ มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับการยอมรับการปฏิบัติตามระบบการผลิตทางการเกษตรที่ดีในเชิงความคิดเห็น ในขณะที่ การศึกษาความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับยอมรับการปฏิบัติตามระบบการผลิตทางการเกษตรที่ดี ส่วนจำนวนแรงงานในครัวรือน และประสบการณ์ในการทำสวนมะม่วงตามระบบฯมีความสัมพันธ์ในทิศทางดียวกับการยอมรับการปฏิบัติตามระบบการผลิตทางการเกษตรที่ดีในเชิงปฏิบัติ และ (5) เกษตรกรมีปัญหาด้านการตลาด โดยมีข้อเสนอแนะให้หน่วยงานของรัฐจัดหาช่องทางการตลาดให้กับเกษตรกร เช่น การจัดมหกรรมสินค้าทางการเกษตร การจัดงานของดีประจำท้องถิ่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมะม่วง--การปลูกth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตร--ไทยth_TH
dc.titleการยอมรับการปฏิบัติตามระบบการผลิตทางการเกษตรที่ดีในการปลูกมะม่วงของเกษตรกรในอำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราth_TH
dc.title.alternativeAdoption of good agricultural practices for mango production farmers in Bang Khla District, Chachoengsao Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives were to study the mango farmers in the following aspects: (1) knowledge and knowledge resources of GAP system, (2) the opinion towards an adoption of GAP system, (3) the adoption of GAP system, (4) factors related to the adoption of GAP system, and (5) problems and suggestions on the practice according to GAP system. The samples were 177 mango farmers who registered with Bang Khla District Agricultural Office in 2019. Statistics used were frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. The results were that farmers were male of 52.0 percent and completed primary education. They had an average farm area for mango production of 12.84 rai (1 rai = 1,600 square meters). The average annual income from mango selling was 108,146.86 Baht while the average annual non-farm income was 56,021.05 Baht. (1) The farmers had knowledge of GAP system at the highest level while they received information from various sources at a low level especially from online media. (2) The farmers agreed with GAP system at a high level. (3) The adoption in theory and practice by farmers was at the highest level especially the aspect of water resources (water used in the production processes shall come from sources that do not cause contamination of hazardous substances against produce) . At the high level especially the pesticides and harvest and post-harvest practices. (4) Non-farm income had opposite statistically significant relationship with the GAP system in term of opinion. Opinion towards GAP system, and knowledge receiving level from various sources had positive statistically significant relationship with the GAP system in term of opinion. The education had opposite statistically significant relationship with the practical adoption. The number of family labor and experience of mango production according to GAP system was positive relationship with the practical adoption (5) Marketing problems were indicated. The marketing channels such as agricultural product festivals or good local product fairs should be promoteden_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
162178.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons