Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10207
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอิศเรศ ศันสนีย์วิทยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเกษม คชาสัมฤทธิ์, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T03:37:47Z-
dc.date.available2023-11-01T03:37:47Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10207-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความต้องการในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบุคลากรด้านเครื่องจักรกล เงินทุนหมุนเวียนค่าเครื่องจักรกลของกรมทางหลวง 2) เปรียบเทียบความต้องการในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของบุคลากรด้านเครื่องจักรกลเงินทุนหมุนเวียนค่าเครื่องจักรกลของกรมทางหลวง และ 3) ความคิดเห็น ในการพัฒนาของบุคลากรด้านเครื่องจักรกลเงินทุนหมุนเวียนค่าเครื่องจักรกลของกรมทางหลวง กลุ่มตัวอย่างคือ ข้าราชการของกรมทางหลวงด้านเครื่องจักรกล ที่ปฏิบัติงานเงินทุนหมุนเวียนค่าเครื่องจักรกลของกรมทางหลวงในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค จำนวน 153 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบง่ายโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) จากจำนวนประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียวและค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับความต้องการในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พบว่า บุคลากรด้านเครื่องจักรกล เงินทุนหมุนเวียนค่าเครื่องจักรกลของกรมทางหลวง มี ความต้องการในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือด้านการสอนงาน รองลงมาคือ ด้านสมรรถนะ ด้านการทดลองเรียนงาน และด้านการหมุนเวียน (2) เปรียบเทียบความต้องการในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า บุคลากรด้านเครื่องจักรกลที่มี อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง อายุราชการ และสถานที่ปฏิบัติงานแตกต่างกัน มีความต้องการในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไม่แตกต่างกัน (3) ข้อเสนอแนะในการพัฒนาของบุคลากรได้แก่ ด้านการสอนงาน ผู้บังคับบัญชาควรสนับสนุนให้มีการสอนงานแก่เจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน ด้านหมุนเวียนงาน ควรมีการส่งเจ้าหน้าที่ด้านเครื่องจักรกลในส่วนกลางหมุนเวียนไปปฏิบัติงานในส่วนภูมิภาคบ้างเป็นครั้งคราว ด้านสมรรถนะ ควรจัดให้มีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในงานมาให้ความรู้ทักษะและทัศนคติเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และด้านทดลองเรียนงาน ผู้บังคับบัญชาควรเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ทดลองเรียนงานเพื่อเป็นการพัฒนาความรู้และประสบการณ์ในการทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความต้องการในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบุคลากรด้านเครื่องจักรกลเงินทุนหมุนเวียนค่าเครื่องจักรกลของกรมทางหลวงth_TH
dc.title.alternativeTraining needs for human resources development of equipment revolving fund of the Department of Highwaysen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the training needs for human resources development of Equipment Revolving Fund of the Department of Highways, (2) to compare the training needs for human resources development based on personal factors of personnel of Equipment Revolving Fund of the Department of Highways, and (3) to obtain opinions on human resources development of Equipment Revolving Fund of the Department of Highways. The sample of this research consisted of 153 officers of the Department of Highways who work for Equipment Revolving Fund of the Department of Highways in central and regional areas. They were selected from total population by simple sampling calculated by the formula of Taro Yamane. The instrument used was a questionnaire. The statistics used to analyze the data were Frequency, Percentage, Means, Standard Deviation (S.D.), One-way Analysis of Variance, and Correlation Coefficient. The research results indicated that (1) opinions on needs for human resources development revealed that the personnel of Equipment Revolving Fund of the Department of Highways in general had high requirement for human resources development which the maximum means was job coaching aspect, following by competency, on-the-job training, and rotation, (2) comparison of the requirement for human resources development based on personal factors showed that the officers with different ages, education levels, positions, work experiences and workplaces had identical needs on human resources development, (3) suggestions towards human resources development related to job coaching that supervisors should encourage career coaching to personnel in the department; on job rotation that the officers who work in central region should be transferred to work in other regions on occasion; on competency that there should arrange the persons who have expert in tasks to train knowledge, skills and attitude to the officers to be able to work efficiently, and on the job training that the supervisors should give opportunity to their subordinates to trial work for development of knowledge and work experienceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_130992.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons