Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10236
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุดใจ ทัศจันทร์, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-02T02:31:00Z-
dc.date.available2023-11-02T02:31:00Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10236-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับสมรรถนะของข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี (2) ระดับความคิดเห็นที่มีต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะของข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี (3) เปรียบเทียบความคิดเห็นต่อสมรรถนะของข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล และ (4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะกับประสิทธิภาพของข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ข้าราชการในองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี มีจำนวนทั้งหมด 160 คน กลุ่มตัวอย่างได้จากการคำนวณตามสูตรของ ยามาเน่ จำนวน 114 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบไลเคิร์ทสเกล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์เพียร์สัน และการทดสอบรายคู่ โดยใช้วิธี แอลเอสดี ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับสมรรถนะของข้าราชการในภาพรวมอยู่ในระดับสูง โดยสมรรถนะหลักมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านสมรรถนะในงาน และสมรรถนะด้านบริหารและ สมรรถนะด้านการนำตามลำดับ (2) ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะข้าราชการ พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณสมรรถนะเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการพัฒนาตนเองมีค่าเฉลี่ยสูงสุดและรองลงมาตามลำดับคือ ด้านค่าตอบแทน ด้านการจัดการความรู้ และด้านนโยบายขององค์กร (3) การเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อสมรรถนะข้าราชการพบว่ามีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทุกด้าน (4) ด้านความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะและประสิทธิภาพของข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี พบว่าปัจจัยด้านการพัฒนาตนเองมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูง ด้านค่าตอบแทนมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูง ด้านนโยบายขององค์กรและด้านการจัดการความรู้ มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะของข้าราชการเชิงบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี--ข้าราชการth_TH
dc.subjectสมรรถนะth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะของข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting competency development of government officers in Chonburi Provincial Administration Organizationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study ccompetency levels of government officers in Chonburi Provincial Administration Organization; (2) to study opinion level on the factors affecting the competency of government officers in the Organization; (3) to compare opinions and competencies of government officers in the Organization by personal characteristics; and (4) the relationship between the factors that affecting to the competencies and efficiencies of government officers in the Organization. This study was a survey research. The population was 160 officers in Chonburi Provincial Administration Organization. The sampling size was 114 persons from using a Taro Yamane’s formula. This study utilized a Likert scale questionnaire Data were analyzed as percentage, mean, standard deviation, t-test, One- way ANOVA, Pearson ' s Coefficient and Least Significant Difference Test. The study results showed that: (1) the competency level of government officers was at the high level. The core competencies had the average highest level, followed by work competency management and leadership competency respectively. (2) the opinion level of the factors affecting overall competency of government officers was at the high level. Classified competencies were found that the highest was self-development, the second was salary, the third was knowledge management and organization policy; (3) the comparison between the opinions to competencies of the officers were found to be different by statistical significance at the .05 in all aspects; and (4) the relationship between the factors affecting the competencies and efficiencies of the officers in the Organization were found that the highest positive correlation level was self-development and salary had high positive correlation levels and organization policy and knowledge management have moderate positive statistical significance at the 0.01en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_127734.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons