Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10289
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขุมาลย์ ชำนิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอภิสิทธิ์ บุญความดี, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-03T07:53:49Z-
dc.date.available2023-11-03T07:53:49Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10289-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัท ช. การช่าง (ลาว) จำกัด (2) ศึกษาเปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน บริษัท ช.การช่าง (ลาว) จำกัด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัท ช. การช่าง (ลาว) จำกัด การศึกษาใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ พนักงานของบริษัท ช.การช่าง (ลาว) จำกัด ระดับปฏิบัติการที่มีสัญชาติไทย จำนวน 343 คน กลุ่มตัวอย่าง 185 คน กำหนดที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณา คือ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ใช้การทดสอบค่า ที การทดสอบค่า เอฟ และการทดสอบเปรียบเทียบเป็นรายคู่ตามวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัย พบว่า (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัท ช. การช่าง (ลาว) จำกัด ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) พนักงานบริษัท ช. การช่าง (ลาว) จำกัด ที่มี เพศ อายุงาน ระดับรายได้ และลักษณะสัญญาจ้าง แตกต่างกัน มีระดับความผูกพันต่อองค์การในภาพรวมไม่แตกต่างกัน พนักงานฯ ที่มี อายุ สถานภาพสมรส และระดับการศึกษา แตกต่างกัน มีระดับความผูกพันต่อองค์การในภาพรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ข้อเสนอแนะในการเสริมสร้างระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัท ช. การช่าง (ลาว) จำกัด ได้แก่ ควรจัดกิจกรรมสังสรรค์ นันทนาการ การแข่งขันกีฬา การละเล่นพื้นบ้าน เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงานได้รู้จักกันอย่างทั่วถึงและมีความสามัคคี ซึ่งจะช่วยให้การทำงานเกิดความร่วมมือกันและเข้าใจกันมากขึ้น รองลงมาเห็นว่าควรจัดกิจกรรมให้พนักงานได้ไปทัศนศึกษาดูงานและท่องเที่ยวอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง และควรจัดกิจกรรมให้พนักงานได้ผ่อนคลายความเครียดจากการทำงาน คือ การแสดงดนตรี ภาพยนตร์ การประกวดร้องเพลง ฟังธรรมะทุกสัปดาห์ ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัท ช.การช่าง (ลาว) จำกัด--พนักงานth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัท ช.การช่าง (ลาว) จำกัดth_TH
dc.title.alternativeOrganizational engagement of Ch. Karnchang (Lao) Company Limited's Employeesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were; (1) to study organizational engagement of Ch. Karnchang (Lao) Company Limited ’s Employees; (2) to compare level of organizational engagement of Ch. Karnchang (Lao) Company Limited ’s employees classified by personal factors; and (3) to suggest how to increase of Ch. Karnchang (Lao) Company Limited ’s employees organizational engagement. This research was a survey research .Samples comprised 185 Thai organizational engagement from 343 of Ch. Karnchang (Lao) Company Limited ’s employees at confidence level of 95%. The tool employed was a questionnaire. The descriptive statistics used for analyzing data ineluded frequencies, mean, percentage , and standard deviation. The inference statistics used were T-test , F-test with Scheffe , S-test. The study results show that; (1) the overall organizational egagement of Ch. Karnchang (Lao) Company Limited ’s employees was at the high level; (2) the different gender, age, salary, work status of the employees did not make different organizational engagement. The different age, marital status, education of the employes made different level of the organizational engagement at 0.05 the significantly statistic level; and (3) suggestion to organizational engagement of employees included provision of entertainment activitives, sports, and folkdance activities to unite employees and the administrators closely. These would make more cooperation, followed by provision of trips, or travels once a year. The activities for relaxcing from work annong the employees were musics playing, movies, singing contest and weekly Buddhist Dhamma listening, respectivelyen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_128353.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons