Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10299
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเกสร ลิ่มสกุล, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-06T02:22:06Z-
dc.date.available2023-11-06T02:22:06Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10299-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่สังกัดกระทรวงยุติธรรม และองค์กรอิสระ ในจังหวัดพังงา (2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจการปฏิบัติงานของบุคลากรในสังกัดกระทรวงยุติธรรม และองค์กรอิสระ ในจังหวัดพังงา และ (3) ศึกษาข้อเสนอแนะในการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสังกัด กระทรวงยุติธรรม และองค์กรอิสระในจังหวัดพังงา ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรมและองค์กรอิสระในจังหวัดพังงา จำนวน 197 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 132 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า (1) ในภาพรวมบุคลากรที่สังกัดกระทรวงยุติธรรม และองค์กรอิสระใน จังหวัดพังงา มีแรงจูงใจในระดับมากที่สุด โดยด้านการมีทิศทาง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และด้านการมีเป้าหมาย มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจของบุคลากรมากที่สุดได้แก่ ปัจจัยจูงใจด้านความก้าวหน้าในงาน รองลงมาคือความสำเร็จในงาน และความยอมรับนับถือตามลำดับ โดยตัวแปรทั้งสามมีความสามารถในการพยากรณ์ร้อยละ 53.50 ขณะที่ปัจจัยจูงใจด้านความรับผิดชอบไม่ส่งผลต่อแรงจูงใจ (3) ข้อเสนอแนะได้แก่ ผู้บังคับบัญชาควรส่งเสริมความก้าวหน้าในงานแก่บุคลากรด้วยวิธีต่าง ๆ เปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย รวมทั้งกำหนดนโยบายในการทำงานที่ชัดเจน นอกจากนั้น ควรมอบหมายงานที่ตรงตามความรู้ความสามารถโดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นงานที่ท้าทายความสามารถ อันจะนำไปสู่ความภูมิใจในงานที่รับผิดชอบ และส่งผลให้บุคลากรเกิดแรงจูงใจในการปฏิบัติงานมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกระทรวงยุติธรรม--ข้าราชการและพนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่สังกัดกระทรวงยุติธรรมและองค์กรอิสระในจังหวัดพังงาth_TH
dc.title.alternativeWork motivation of officials of ministry of justice and independent entities in Phang-Nga Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) level of work motivation of officials of Ministry of Justice and Independent Entities in Phang-Nga Province (2) factors affecting work motivation of officials of Ministry of Justice and Independent Entities in Phang-Nga Province and (3) recommendations to enhance work motivation of officials of Ministry of Justice and Independent Entities in Phang-Nga Province. Population consisted of 197 officials of Ministry of Justice and Independent Entities in Phang-Nga Province. Samples of 132 were determined. Accidental sampling method was applied. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. Research results revealed that (1) in the overall view, work motivation of officials of Ministry of Justice and Independent Entities was in highest level with the highest mean on direction aspect and the lowest on goal aspect (2) factor most affecting work motivation was motivator factor of job advancement, next were job achievement and recognition, consecutively, all three variables had efficiency of prediction at 53.50 percent, while another motivator factor of responsibility had no effect (3) major recommendations were : supervisors should support employees’ advancement through varieties of approaches, should provide opportunities to employees to participate in administrative policy formulation, clear administrative policy should be determined, moreover, right job should be delegated to the right man particularly the delegation of challenging job which would lead to employees’ pride and the increasing of their work motivationen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_128360.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons