Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10304
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลักษณา ศิริวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชำนาญ คำภา, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-06T03:33:37Z-
dc.date.available2023-11-06T03:33:37Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10304-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดองค์การบริหารส่วนตำบลหนองกบ อำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี และ (2) เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดองค์การบริหารส่วนตำบลหนองกบ อำเภอหนองแซงจังหวัดสระบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ประชาชนที่อาศัยใน พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลหนองกบ อำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี จำนวน 341 คน จากการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า 1) การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลหนองกบ อำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรีโดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย (2) ประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลหนองกบ อำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรีที่มีอายุแตกต่างกันมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ด้านการวางแผน ด้านการปฏิบัติการ ด้านการรับผลประโยชน์ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ประชาชนที่มีอาชีพที่แตกต่างกันมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ด้านการวางแผน ด้านการปฏิบัติการ ด้านการรับผลประโยชน์ และด้านการประเมินผล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ประชาชนที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกันมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ด้านการวางแผน ด้านการรับผลประโยชน์ และด้านการประเมินผล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และประชาชนที่มีระยะเวลาในการอยู่อาศัยแตกต่างกันมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ด้านการปฏิบัติการ ด้านการรับผลประโยชน์และด้านการประเมินผล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบลหนองกบ--ไทย--สระบุรีth_TH
dc.subjectยาเสพติด--การป้องกันและควบคุม--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดองค์การบริหารส่วนตำบลหนองกบ อำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรีth_TH
dc.title.alternativePeople participation in drug problem solving of Nongkob Subdistrict Administartion Organization, Saraburien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to (1) study people participation in drug problem solving of Nongkob subdistrict administartion organization, Saraburi and (2) compare people participation in drug problem solving of Nongkob subdistrict administartion organization, Saraburi classifying by personal factors and knowledge about drug and drug problem preventing and solving. The study was a survey research. Data of this survey research were gathered from 341 people living in Nongkob subdistrict administartion organization, Saraburi by accidental sampling. Questionnaire was used as an instrument. Data collected were statistically analyzed using percentage, means, standard deviations, t-test hypothesis and variance analysis. The finding showed that (1) people participation in drug problem solving of Nongkob subdistrict administartion organization, Saraburi was at low level. (2) sample groups with difference in age had different participation in drug problem solving of planning, implementation and beneficiary with significant level at 0.05. Sample groups with difference in occupation had different participation in drug problem solving of planning, implementation, beneficiary and evaluation with significant level at 0.05. Sample groups with difference in monthly income had different participation in drug problem solving of planning, beneficiary and evaluation with significant level at 0.05. Sample groups with difference in time living in the area had different participation in drug problem solving of implementation, beneficiary and evaluation with significant level at 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_128646.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons