Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1030
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ วิภาวิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศรีนวล โอสถเสถียร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสงวนสิน รัตนเลิศ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรัตนาภรณ์ หลุมเพ็ต, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T03:50:09Z-
dc.date.available2022-08-26T03:50:09Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1030-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการใช้สารสนเทศของพยาบาลในกลุ่ม โรงพยาบาลกรุงเทพ ภาคใต้ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารสนเทศของพยาบาลในกลุ่ม โรงพยาบาลกรุงเทพ ภาคใต้ 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคการใช้สารสนเทศของพยาบาลในกลุ่ม โรงพยาบาลกรุงเทพ ภาคใต้ และ 4) เปรียบเทียบปัญหาและอุปสรรคการใช้สารสนเทศของพยาบาล ในกลุ่มโรงพยาบาลกรุงเทพ ภาคใต้ วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ พยาบาลในกลุ่ม โรงพยาบาลกรุงเทพ ภาคใต้ 3 แห่ง คือ โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ่ และโรงพยาบาลกรุงเทพสมุย จำนวน 408 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแจกแจงความถี่ และค่า ไคสแควร์ ผลการวิจัย พบว่า 1) พยาบาลในกลุ่มโรงพยาบาลกรุงเทพ ภาคใต้ มีสภาพการใช้ สารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับมาก จำแนกเป็นรายด้านได้แก่ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ ด้านวัตถุประสงค์การใช้เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานพยาบาลและเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ทั่วไป ส่วนด้านเนื้อหาสารสนเทศการพยาบาลมีการใช้ในระดับปานกลาง 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การใช้สารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ปัจจัยจากสภาพแวดล้อม ปัจจัยจากบุคคล 3) ปัญหาและอุปสรรคการใช้สารสนเทศ ได้แก่ ภาระงานมาก โปรแกรมคอมพิวเตอร์โรงพยาบาล มีความซับซ้อน และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอ ตามลำดับ และ 4) เปรียบเทียบปัญหาและ อุปสรรคการใช้สารสนเทศของพยาบาลในกลุ่มโรงพยาบาลกรุงเทพ ภาคใต้ พบว่า พยาบาล โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต พยาบาลโรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ่ และพยาบาลโรงพยาบาล กรุงเทพสมุย มีปัญหาและอุปสรรคการใช้สารสนเทศแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.318-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลกรุงเทพ--ไทย (ภาคใต้)th_TH
dc.subjectสารสนเทศ--การศึกษาการใช้th_TH
dc.titleการใช้สารสนเทศของพยาบาลในกลุ่มโรงพยาบาลกรุงเทพภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeInformation use by nurses in the Southern Group of the Bangkok Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.318-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed 1) to study information use by nurses in the southern group of the Bangkok Hospitals, 2) to study factors affecting information use by nurses in the southern group of the Bangkok Hospitals, 3) to study problems and obstacles of information use by nurses in the southern group of the Bangkok Hospitals and 4) to compare the problems and obstacles of information use by nurses in the southern group of the Bangkok Hospitals. This research was a survey study and the population consisted of 408 nurses in the southern group of the Bangkok Hospitals. The instruments were questionnaires. The statistics used in this study were frequency, percentage, mean, standard deviation and Chi-square test. The research findings were summarized as follows: 1) Information use by nurses in the southern group of the Bangkok Hospitals was at a high level; when classified each aspect found that the use of information technology and the objectives of information use to support the nursing practice and general work were at the high level, while the information contents were at the medium level. 2) Factors affecting information use by nurses in the southern group of the Bangkok Hospitals at the high level were the environment factor and the personnel factor. 3) Problems and obstacles of information use were their burdens, the complex computer program and insufficient computer equipment. 4) Comparing the problems and obstacles of information use by nurses in the southern group of the Bangkok Hospitals found difference significantly at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (11).pdfเอกสารฉบับเต็ม10.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons