Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10318
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์th_TH
dc.contributor.authorสุรินทร์ เริงอารมณ์, 2490-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-06T06:49:29Z-
dc.date.available2023-11-06T06:49:29Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10318en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สื่อที่มีอิทธิพลต่อประชาชนผู้เข้าร่วมชุมนุมกับพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (2) อิทธิพลของสื่อเหล่านั้นที่มีต่อทัศนคติ ความคิด และการสนับสนุนของผู้เข้าร่วมชุมนุม (3) ปัจจัยต่างๆ ที่สื่อเหล่านั้นสามารถปลุกเร้าให้ประชาชนเข้าร่วมชุมนุม การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ในการวิจัย การสุ่มตัวอย่างโดยการเลือกแบบเจาะจงจากกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยจำนวน 364 คน แยกเป็นกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 97 คน ภาคกลาง 73 คน ภาคตะวันออก 13 คนภาคเหนือ 58 คน ภาคตะวันออกเฉืยงเหนือ 55 คน และภาคใต้ 68 คน และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงสถิติโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเขียนบรรยายเชิง พรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) สื่อที่มีอิทธิพลต่อประชาชนผู้เข้าร่วม ชุมนุมฯ เรียงตามลำดับความสำคัญได้แก่ ทีวีผ่านดาวเทียม ทีวีออกอากาศฟรีทั่วๆ ไป วิทยุกระจายเสียง และสื่อประเภทอื่นๆ (2) สื่อที่พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยใช้ปลุกเร้านั้น มีอิทธิพลต่อทัศนคติ ความคิด และการสนับสนุนของประชาชนผู้เข้าร่วมชุมนุมได้ในบางเรื่อง แต่ไม่สามารถชักจูงได้ทั้งหมด (3) ปัจจัยต่างๆ ที่สื่อเหล่านั้นสามารถปลุกเร้าให้ประชาชนเข้าร่วมชุมนุม ที่สำคัญได้แก่ การที่พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยมีสื่อโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม เอเอสทีวี เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในบรรดาสื่อต่างๆ ทั้งหลาย การใช้เทคนิคในการออกอากาศได้อย่างต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง โดยไม่ถูกปิดกั้นหรือถูกรบกวนได้ง่าย การใช้แกนนำที่มีความน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับของประชาชนในด้านความซื่อสัตย์สุจริตเป็นผู้ส่งสาร การเลือกใช้ประเด็นข่าวสารที่ตรงใจประชาชน ซึ่งสามารถปลุกเร้าให้คล้อยตามอย่างได้ผล การใช้กลยุทธในการปลุกเร้าให้ประชาชนมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของสื่อหรือเจ้าของการชุมนุมร่วมกัน การมีสื่อหลายๆ ประเภทอยู่ในความครอบครอง พร้อมที่จะใช้ได้ทันที และการมีแนวร่วมหลากหลายองค์กรที่พร้อมให้การสนับสนุนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมืองth_TH
dc.subjectสื่อมวลชน--แง่การเมืองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--รัฐศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleอิทธิพลของสื่อต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน : กรณีศึกษาการเข้าร่วมชุมนุมของประชาชนกับกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยth_TH
dc.title.alternativeMedia influences on the people's political participation : a case study of people participated in the people's alliance democracy movementsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
127465.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons