Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10338
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุวภัทร แต้วัฒนา, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-09T02:30:13Z-
dc.date.available2023-11-09T02:30:13Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10338-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการทำงานของบุคลากรวิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปาง (2) เปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทำงานของบุคลากรวิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปาง จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ บุคลากรวิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปาง จำนวน 146 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 107 คน ด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบโควตา ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม 0.97 สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) แรงจูงใจในการทำงานของบุคลากรวิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน โดยเรียงลำดับดังนี้ ด้านความสำเร็จในงาน ด้านความยอมรับนับถือ ด้านความรับผิดชอบ ด้านความก้าวหน้า ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านนโยบายและการบริหารขององค์การ ด้านการปกครองบังคับบัญชา ด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น ด้านสภาพการทำงาน ด้านค่าตอบแทน ด้านความมั่นคงปลอดภัยในงาน และด้านสถานภาพ (2) บุคลากรที่มีเพศ และระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการทำงานไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนบุคลากรที่มีอายุสถานภาพ ตำแหน่งงาน รายได้ต่อเดือน และประสบการณ์การทำงานในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปางที่แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปาง--พนักงานth_TH
dc.titleแรงจูงใจในการทำงานของบุคลากรวิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปางth_TH
dc.title.alternativeMotivation in working of employees of Lampang Vocational Collegeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were (1) to determine level of motivation in working of employees of Lampang Vocational College and (2) to compare level of motivation of Lampang Vocational College based on personalization. Population in this study are employees of Lampang Vocational College with total of 146 workers. The sample size of 107 workers was calculated by Taro Yamane’s formula and sampling by quota sampling. Questionnaires were used in data collection process within this study with reliability value of 0.97. Descriptive statistics have been used to defined percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test and the Analysis of Variance (One-way ANOVA). The study indicated that (1) employees of Lampang Vocational College had a level of motivation with a high-motivator and when considered in each aspect factor was high motivating factor for the followings: Success on the job, Recognition, Responsibility, Career progress, Characteristics of the performed work, Policy and management of the organization, Commanding officer, Relationships with others, Working conditions, Compensation, Security and Statusn (2) There were no significant difference of the motivation of employees of Lampang Vocational College in relation to employee’s personalization such as Sex and Academic background. However Age, Marital status, Position, Income and Experience had difference level of motivation at the statistical level of .05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_130056.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons