Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10422
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวลัญช์ โรจนพล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเบ็ญจมาศ นาคนิมิตร, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-13T07:30:23Z-
dc.date.available2023-11-13T07:30:23Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10422-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) บทบาทของผู้นำท้องถิ่นในการเสริมสร้างการมีส่วน ร่วมทางการเมืองของประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเหมาะ อำเภอกะปง จังหวัดพังงา (2) ปัญหา และอุปสรรคของผู้นำท้องถิ่นในการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลเหมาะ อำเภอกะปง จังหวัดพังงา (3) แนวทางในการพัฒนาบทบาทของผู้นำ ท้องถิ่นในการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบล เหมาะ อำเภอกะปง จังหวัดพังงา การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มผู้บริหารท้องถื่น กลุ่มผู้นำ ท้องที่ กลุ่มผู้นำอาชีพ กลุ่มข้าราชการส่วนท้องถื่น กลุ่มข้าราชการส่วนภูมิภาค และกลุ่มประชาชน ใช้การ คัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 16 คน เครื่องมือในการวิจัยใช้แบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้นำท้องถิ่นในองค์การบริหารส่วนตำบลเหมาะ อำเภอกะปง จังหวัด พังงา มีบทบาทในการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนผ่านกระบวนการประชาคม เพื่อจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี โดยมีการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน มีการเปิดโอกาสให้ประชาชน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและร่วมตัดสินใจในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาหรือโครงการต่างๆ ใน เวทีประชาคม และมีการสร้างเครือข่ายในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในระดับอำเภอ (2) ปัญหาและ อุปสรรคของผู้นำท้องถิ่นในองค์การบริหารส่วนตำบลเหมาะ อำเภอกะปง จังหวัดพังงา คือ ผู้นำท้องถิ่น ไม่มีความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้เกี่ยวกับกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ช่องทางการแสดง ความคิดเห็นมีน้อย และผู้นำท้องถิ่นยังขาดการติดต่อสานสัมพันธ์กับเครือข่ายในการจัดทำแผนพัฒนา ท้องถื่นอย่างต่อเนื่อง (3) การเสนอแนวทางในการพัฒนาบทบาทของผู้นำท้องถิ่นในองค์การบริหารส่วน ตำบลเหมาะ อำเภอกะปง จังหวัดพังงา มีดังนี้ การจัดฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น สี่ปีให้แก่ผู้นำท้องถื่นและประชาชนในพื้นที่ เพิ่มช่องทางการรับฟังความคิดเห็น รวมถึงการสร้าง ปฏิสัมพันธ์กับเครือข่ายในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นให้บ่อยครั้งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครองท้องถิ่น --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้นำชุมชน--ไทย--พังงา.th_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมือง--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองท้องถิ่นth_TH
dc.titleบทบาทของผู้นำท้องถิ่นในการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเหมาะ อำเภอกะปง จังหวัดพังงาth_TH
dc.title.alternativeRoles of a local leader to encourage a political participation of the people in Moh Subdistrict Administrative Organization, Kapong District, Phangnga Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are (1) to study the roles of a local leader to encourage a political participation of the people in Moh Subdistrict Administrative Organization, Kapong District, Phangnga Province and (2) to investigate the obstacles of the local leader to encourage a political participation of the people in Moh Subdistrict Administrative Organization, Kapong District, Phangnga Province and (3) to propose the suitable guideline to improve the roles of the local leader to encourage a political participation of the people in Moh Subdistrict Administrative Organization, Kapong District, Phangnga Province. The qualitative approach was used to apply in this research. Data collection was gathered from literature review and in-depth interview. Samplings were a local executive group, a local leader group, a career leader group, a local government officer group, a provincial government officer group and people selected by purposive sampling (16 interviewees in total). Then, the data were analyzed using a content analysis method and a descriptive analysis method. This research found that (1) the roles in the encouragement of political participation of the local leader in Moh Subdistrict Administrative Organization were a preparing of the four-year local development plan by the community process, a providing of the information to people, a conducting of the public participation on the important problem and a creating of a network to prepare the local development plan. (2) The obstacles of the local leader in Moh Subdistrict Administrative Organization were an incomplete understanding of the local leader about the four-year local development plan, a failure of the public participation and a poor interaction between the local leader and the network about the local development plan. (3) The suitable guideline to improve the roles of the local leader in Moh Subdistrict Administrative Organization are a providing of the knowledge about the four-year local development plan to the local leader and the related people, an improving of the public participation and a creating of the interaction between the local leader and the network about the local development plan.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153553.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons