Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10449
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจรรยา ชูสุวรรณ, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-15T03:12:44Z-
dc.date.available2023-11-15T03:12:44Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10449-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประสิทธิผลการใช้กระบวนการละครสร้างสรรค์เพื่อ พัฒนาทักษะภาษาไทยด้านการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (2) ประสิทธิผลการใช้กระบวนการ สะครสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาทักษะภาษาไทยด้านการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 (3) ประสิทธิผล การใช้กระบวนการละครสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาทักษะภาษาไทยด้านการฟัง การดู และการพูดของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (4) ประสิทธิผลการใช้กระบวนการละครสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาทักษะภาษาไทย ด้านการใช้ภาษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ (5) ประสิทธิผลการใช้กระบวนการละคร สร้างสรรค์เพื่อพัฒนาทักษะภาษาไทยด้านวรรณคดีและวรรณกรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัด อมรินทราราม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน ด้วยการสุ่ม ตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือวิจัยคือแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) การใช้กระบวนการละครสร้างสรรค์มีประสิทธิผลต่อการพัฒนาทักษะ ภาษาไทยด้านการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) การใช้ กระบวนการละครสร้างสรรค์มีประสิทธิผลต่อการพัฒนาทักษะภาษาไทยด้านการเขียนของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) การใช้กระบวนการละครสร้างสรรค์มีประสิทธิผล ต่อการพัฒนาทักษะภาษาไทยด้านการฟัง การดูและการพูดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 (4) การใช้กระบวนการละครสร้างสรรค์ มีประสิทธิผลต่อการพัฒนาทักษะภาษาไทย ด้านการใช้ภาษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (5) การใช้ กระบวนการละครสร้างสรรค์มีประสิทธิผลต่อการพัฒนาทักษะภาษาไทยด้านวรรณคดีและวรรณกรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectภาษาไทย--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectละครเพื่อการศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleประสิทธิผลละครสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาทักษะภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5th_TH
dc.title.alternativeEffectiveness of creative drama for developing Thai language skills students in Pratom Suksa 5 Levelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the effectiveness of using a creative drama technique for developing the Thai language reading skills of primary school students at level Prathom Suksa 5; 2) the effectiveness of using a creative drama technique for developing the students’ writing skills; 3) the effectiveness of using a creative drama technique for developing the students’ listening, watching and speaking skills; 4) the effectiveness of using a creative drama technique for developing the students’ language use skills; and 5) the effectiveness of using a creative drama technique for developing the students’ literature skills. This was an experimental research. The sample population was 30 primary school students in grade Prathom Suksa 5 at Watamarintraram School, under the Bangkok Primary Education. The samples were chosen through simple random sampling. The research instruments were a pre test and a post test. Data were statistically analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation and t-test. The results showed that (1) the creative drama process used was effective in developing the Thai language reading skills of the sample Prathom Suksa 5 level students to a statistically significant degree at level 0.05; (2) the creative drama process used was effective in developing the Thai language writing skills of the sample Prathom Suksa 5 level students to a statistically significant degree at level 0.05; (3) the creative drama process used was effective in developing the Thai language listening, watching and speaking skills of the sample Prathom Suksa 5 level students to a statistically significant degree at level 0.05; (4) the creative drama process used was effective in developing the Thai language usage skills of the sample Prathom Suksa 5 level students to a statistically significant degree at level 0.05; (5) the creative drama process used was effective in developing the Thai literature skills of the sample Prathom Suksa 5 level students to a statistically significant degree at level 0.05.en_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154878.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons