Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10494
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณา ศิลปอาชา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorขนิษฐา เชื้ออู่ทรัพย์, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-16T04:04:54Z-
dc.date.available2023-11-16T04:04:54Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10494-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลและระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (2) เปรียบเทียบการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าภูอัคนีในจังหวัดบุรีรัมย์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าภูอัคนีในจังหวัดบุรีรัมย์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ประชากรคือผู้บริโภคที่ซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าภูอัคนีในจังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน คำนวณขนาดกลุ่มตัวอยางจำนวน 400 คน โดยใช้ สูตรของคอแครน และสุ่มตัวอย่างตามความสะดวก ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนาได้แก่ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ทดสอบความแตกต่างระหวางกลุ่ม และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 50 ปี ขึ้นไป การศึกษาระดับปริญญาตรี สถานภาพสมรส อาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ รายได้เฉลี่ย ต่อเดือน 30,000-39,999 บาท และระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด มีระดับความสำคัญมากที่สุด (2) ผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกนั มีการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าภูอัคนีในจังหวัดบุรีรัมย์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05และ (3) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าภูอัคนีในจังหวัดบุรีรัมย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 โดยปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าภูอัคนีในจังหวัดบุรีรัมย์ในระดับสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการตลาด --การตัดสินใจth_TH
dc.subjectการซื้อสินค้า--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectการเลือกซื้อสินค้าth_TH
dc.subjectผ้า--ไทย--บุรีรัมย์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าภูอัคนีในจังหวัดบุรีรัมย์th_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors relating buying decision on Phu Akkani fabric products in Buriram Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study aimed (1) to study the personal factors and the important level of marketing mix factors; (2) to compare the buying decision on Phu Akkani fabric products classified by personal factors; and (3) to study the relationship between marketing mix factors and buying decisions on Phu Akkani fabric products in Buriram Province. The study was a quantitative research. The unknown population was consumers who purchased Phu Akkani fabric products in Buriram Province. The 400 samples were calculated by Cochran’s Formula using convenience sampling method. A questionnaire was used for data collection. The data was analyzed by descriptive statistics including frequency, percentage, mean and standard deviation as well as inferential statistics including t-Test, One-way ANOVA with the least significance difference test (LSD), and Pearson correlation The results showed that (1) the majority of respondents were female, age 50 and over, Bachelor's degree, married, government officer/state enterprise employee, average income 30,000-39,999 Baht. The importance of marketing mix factors including product, price, place and promotion factors were the highest level. (2) Consumers with different educational level, occupation and average income had different buying Decision on Phu Akkani fabric products in Buriram Province with statistically significant at .05. (3) Product, price, place and marketing promotion factors related to buying decision on Phu Akkani fabric products in Buriram Province with statistical significant at .05 while only product factor related at high level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons