Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10496
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบริบูรณ์ ปิ่นประยงค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสรวีย์ สินพิเชธกร, 2537--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-16T04:19:29Z-
dc.date.available2023-11-16T04:19:29Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10496-
dc.description.abstractการศึกษานี้มี วัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (2) เปรียบเทียบความพึงพอใจในการเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้บริโภคที่เคยซื้อสินค้าออนไลน์และอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรแน่นอนกำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของคอแครน ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 385 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทคสอบค่าที การวิเคราะห์ความแเปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณจากการศึกษา พบว่า (1) ผู้บริ โภคมีความพึงพอใจในการเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) ผู้บริโภคที่มีอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีความพึงพอใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนผู้บริโภคที่มีเพศที่แตกต่างกัน มีความพึงพอใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ไม่แตกต่างกัน (3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีปัจจัยความปลอดภัยและความน่าเชื่อถือ และปัจจัยการตลาดออนไลน์ มีผลต่อความพึงพอใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์--ไทยth_TH
dc.subjectการซื้อสินค้าth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting satisfaction of the decision-making on purchasing online products in Bangkok Metropolitan Regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the satisfaction level for decision- making on online shopping of the consumers in Bangkok Metropolitan Region; (2) to compare the satisfaction for decision-making on online shopping of the consumers in Bangkok Metropolitan Region classified by personal factors; and (3) to study the factors affecting the satisfaction for decision-making on online shopping of the consumers in the area of Bangkok Metropolitan Region. The population of this survey research were consumers who had shopped online products and resided in the zone of Bangkok Metropolitan Region, with unknown certain number. The sample size was determined by using Cochran Formula to acquire the sample size of 385 persons through simple random sampling method. A questionnaire was applied as an instrument for data collection. The statistics employed for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, t-Test, One-way ANOVA, and multiple regression analysis. The findings of this study were as follows: (1) the overall satisfaction level for decision- making on online shopping of the consumers in Bangkok Metropolitan Region was at a high level; (2) the consumers with different ages, educational levels, occupations, and average monthly income were differently satisfied for online shopping, with a statistical significance at level of 0.05, while the consumers with indifferent ages were not differently satisfied on online shopping, and; (3) the marketing-mix factors, technology acceptance factor, safety and credibility factor, and online market factor affected the satisfaction on online shopping of the consumers, with a statistical significance at level of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons