Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10541
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พัทยา แก้วสาร, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | บุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | จินนา รสเข้ม, 2520- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-20T02:20:36Z | - |
dc.date.available | 2023-11-20T02:20:36Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10541 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองวัดกลุ่มเดียวก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะด้านการบริหารยาของพยาบาลวิชาชีพ 3 ด้าน คือ 1) ด้านความรู้ 2) ด้านทักษะ และ 3) ด้านเจตคติ ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง จังหวัดแพร่ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ทำงาน 1 ปีขึ้นไป คัดเลือกแบบเจาะจง จํานวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ โปรแกรมการพัฒนาสมรรถนะด้านการบริหารยาของพยาบาลวิชาชีพ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบประเมินสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพด้านการบริหารยา 3 ด้าน ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาได้ค่าเท่ากับ 92 ค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือ โดยใช้สูตรการคำนวณหาค่า วิธีของคูเดอร์ - ริชาร์ดสัน-20 ได้ค่าเท่ากับ 70 วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล โดยใช้สถิติวิเคราะห์พรรณนา และใช้สถิติ แพร์ ที เทสต์ ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมของพยาบาลวิชาชีพมีระดับค่าเฉลี่ยคะแนนสมรรถนะด้านการบริหารยา ทั้ง 3 ด้าน คือ 1) ด้านความรู้ 2) ด้านทักษะ และ 3) ด้านเจตคติ สูงขึ้น และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ยา--การจัดการ | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ--ไทย | th_TH |
dc.title | ผลของโปรแกรมการพัฒนาสมรรถนะด้านการบริหารยาของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง จังหวัดแพร่ | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of a program to develop competency in drug administration for registered nurses in a community hospital, Phrae Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This was a quasi - experimental research (pre- and post-program tests were administered to the same group of samples) with the objective of comparing the pre- and post-program drug administration competency of registered nurses at a community hospital in Phrae Province in the areas of 1) knowledge; 2) skills; and 3) attitude. The sample population, chosen through purposive sampling, consisted of 50 registered nurses with at least one year of work experiences. The research tool was a program to develop competency in drug administration for registered nurses and the data collection tool was an evaluation form to measure the samples’ self-reported levels of knowledge, skill and attitude about drug administration before and after the program. The content validity index of the tool was rated at .92 and the reliability was .70 when measured by Kuder-Richardson Formula 20. Personal data of the samples were analyzed by descriptive statistics and paired t-Test. The results showed that the mean post-program scores for competency in drug administration in terms of 1) knowledge; 2) skill; and 3) attitude were higher than the mean pre-program scores to a statistically significant degree (p< 0.05) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License