Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10555
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กัลยานี ภาคอัต | th_TH |
dc.contributor.author | ชูศักดิ์ กมลศรี, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-21T03:08:34Z | - |
dc.date.available | 2023-11-21T03:08:34Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10555 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาผลการดำเนินงานของกองทุนรวมตราสารทุนในประเทศไทย และ (2) วิเคราะห์ความสม่ำเสมอของผลการดำเนินงานของกองทุนรวมตราสารทุนในประเทศไทย การศึกษานี้เป็นการศึกษาจากประชากรคือ กองทุนรวมตราสารทุนที่ลงทุนในประเทศไทย ทั้งหมดจำนวน 80 กองทุน สำหรับระยะเวลา 5 ปี ตั้งแต่ 1 มกราคม 2557 ถึง 31 ธันวาคม 2561 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลทุติยภูมิของกองทุนรวมตราสารทุน ซึ่งประกอบด้วยมูลค่าสินทรัพย์สุทธิปลายปีและดัชนีผลตอบแทนรวมของตลาดหลักทรัพย์วิธีการที่ใช้ในการศึกษาคือ การวัดผลการดำเนินงานด้วยอัตราผลตอบแทนของกองทุน การเปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนกับดัชนีผลตอบแทนรวมของตลาดหลักทรัพย์ การจัดลำดับ การจัดกลุ่มตามอัตราผลตอบแทน และความถี่ ผลการศึกษาพบว่า (1) กองทุนรวมตราสารทุนมีอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยในแต่ละปี ระหว่างปี 2557 ถึง ปี 2561 ประมาณอัตราร้อยละ 13.74, 12.52, 7.23, 22.22, และ 41.76 ตามลำดับ กองทุนที่มีอัตราผลตอบแทนรายปีเฉลี่ยสูงที่สุดคือกองทุน KFFIN-D ประมาณอัตราร้อยละ 168.92 รองลงมาคือ กองทุน BBASIC มีอัตราผลตอบแทนราวอัตราร้อยละ 121.03 กองทุนรวมตราสารทุนที่มีอัตราผลตอบแทนรายปีเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ กองทุน ASP-GDF ประมาณอัตราร้อยละ -16.64 (2) กองทุน JB25 LTF และกองทุน K20SLTF เป็นกองทุนที่มีอัตราผลตอบแทนสูงกว่าดัชนีผลตอบแทนรวมของตลาดหลักทรัพย์ตลอดระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจัดได้วาเป็นกองทุนที่มีความสม่ำเสมอของผลการดำเนินงานที่ดีที่สุด ในขณะที่กองทุน ASP-LTF, ONE-EQ, ONE-UB 3, SYRUS-M และ THANA1 เป็นกองทุนที่มีอัตราผลตอบแทนต่ำกว่าดัชนีผลตอบแทนรวมของตลาดหลักทรัพย์ตลอดระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจัดได้ว่าเป็นกองทุนที่มีความสม่ำเสมอของผลการดำเนินงานที่ด้อยที่สุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการธุรกิจและการบริการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | กองทุนรวม--ไทย | th_TH |
dc.subject | ตราสารทุน--ไทย | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การจัดการธุรกิจและการบริการ | th_TH |
dc.title | ความสม่ำเสมอของผลการดำเนินงานของกองทุนรวมตราสารทุนในประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Persistence of equity fund performance in Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการธุรกิจและการบริการ) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to study the performance of equity fund in Thailand, and (2) to analyze the persistence of equity fund performance in Thailand. This study focused on population, all equity funds investing in Thailand, the total of 80 funds. The period of the study was 5 years from 1st January 2014 to 31st December 2018. The data used in the study was secondary data of equity fund consisting of Net Asset Value at the end of the year and Total Return Index. The methodologies used in the study were measuring the equity fund performance with Net Asset Value comparing the rate of return of equity fund with Total Return Index, ranking, classifying the equity fund by using the rate of return, and frequency. The results reported that (1) the average rate of return of equity fund for each year from 2014 to 2018 were about 13.74%, 12.52%, 7.23%, 22.22%, and 41.76%, respectively. KFFIN-D showed the highest average yearly return, 168.92% followed by BBASIC, 121.03%. Equity fund presented the lowest average yearly return was ASP-GDF, –16.64%. (2)The rate of returned of JB25LTF and K20SLTF were higher than the Total Return Index for 5 years from 2014 through 2018. In this case, one could say that those two equity funds show the persistence of the best performance in the study period while ASP-LTF, ONE-EQ, ONE-UB3, SYRUS-M, and THANA1 showed the persistence of the worst performance with the lower rate of return compared to the Total Return Index. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License