Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10562
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัทยา แก้วสารth_TH
dc.contributor.authorนวลผจง ทองแสงแก้ว, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-21T04:17:28Z-
dc.date.available2023-11-21T04:17:28Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10562en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) สร้างแนวปฏิบัติการส่งต่อมารดาหลังคลอดที่มีภาวะรกค้าง โรงพยาบาลบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ 2) ศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้แนวปฏิบัติการส่งต่อมารดาหลังคลอดที่มีภาวะรกค้างที่สร้างขึ้น กลุ่มผู้ให้ข้อมูลมี 2 กลุ่ม ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง คือ 1) กลุ่มผู้ร่วมการสนทนากลุ่ม จานวน 5คน ประกอบด้วยแพทย์ 1 คน และพยาบาลวิชาชีพ 4 คน 2) กลุ่มผู้ประเมินความเป็นไปได้ในการใช้แนวปฏิบัติที่สร้างขึ้นคือ พยาบาลวิชาชีพ จานวน 10 คน เครื่องมือในการศึกษา คือ 1) แนวการสนทนากลุ่มแบบกึ่งมีโครงสร้างและ 2) แบบสอบถามระดับความคิดเห็นในการนาแนวปฏิบัติไปใช้ มีค่าดัชนีวัดความสอดคล้องเชิงเนื้อหา เท่ากับ 1 และค่าความเที่ยง เท่ากับ .96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า 1) แนวปฏิบัติการส่งต่อมารดาหลังคลอดที่มีภาวะรกค้างที่สร้างขึ้น แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การประเมินและการเฝ้าระวังภาวะรกค้าง ขั้นตอนที่ 2 การรักษาและการพยาบาลมารดาที่มีภาวะรกค้างในโรงพยาบาลบ้านนาเดิม และขั้นตอนที่ 3 การส่งต่อมารดาหลังคลอดที่มีภาวะรกค้างอย่างปลอดภัย 2) ความเป็นไปได้ของการใช้แนวปฏิบัติการส่งต่อมารดาหลังคลอดที่มีภาวะรกค้างที่สร้างขึ้นในกลุ่มพยาบาลวิชาชีพมีค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการดูแลหลังคลอดth_TH
dc.subjectมารดาและทารกth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาลth_TH
dc.titleการพัฒนาแนวปฏิบัติและการส่งต่อมารดาหลังคลอดที่มีภาวะรกค้าง โรงพยาบาลบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of guidelines for referral assessment of postpartum women with retained placenta at Bannaderm Hospital, Surat Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis descriptive research had the objectives of 1) developing guidelines for referral assessment of postpartum women with retained placenta at Bannaderm Hospital, Surat Thani Province; and 2) studying the feasibility of using those guidelines. There were 2 groups of key informants, chosen through purposive sampling, consisting of 1) 5 people who participated in the focus group discussion :1 doctor and 4 registered nurses; and 2) 10 registered nurses who evaluated the feasibility of using the guidelines. There were 2 research tools: 1) a semi-structured group discussion guide; and 2) a questionnaire. The content validity was measured at 1 and the reliability at .96. Data were analyzed using descriptive statistics. The results showed that 1) the guidelines developed for assessing referral of postpartum women with retained placenta consisted of 3 steps: a) assessment and monitoring of the retained placenta situation; b) initial treatment at Bannaderm Hospital; and c) referral and safe transfer of the patient. 2) The registered nurses who evaluated the feasibility of using the guidelines gave them an overall mean rating of “most feasible.”en_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons