Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10600
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิระสุข สุขสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัชชารีย์ ธนัสจิรพัฒน์, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-30T04:04:59Z-
dc.date.available2023-11-30T04:04:59Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10600-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียน กลุ่มทดลองก่อนและหลังใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัล และ (2) เปรียบเทียบความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัลและนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้ชุดบริการสนเทศหลังการทดลอง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาลเขาท่าพระ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวนทั้งหมด 40 คน แบ่งเป็น นักเรียนกลุ่มทดลอง จำนวน 20 คน และนักเรียนกลุ่มควบคุม จำนวน 20 คน โดยใช้วิธีสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัล (2) ชุดบริการสนเทศ และ (3) แบบวัดความฉลาดทางดิจิทัล มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับ เท่ากับ .90 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัลนักเรียนกลุ่มทดลองมีความฉลาดทางดิจิทัลสูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัล และ (2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนา ความฉลาดทางดิจิทัลมีความฉลาดทางดิจิทัลสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้ชุดบริการสนเทศth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการรู้จักใช้เทคโนโลยี--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความสามารถทางดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาลเขาท่าพระ จังหวัดชัยนาทth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package to develop digital intelligence quotient of Mathayom Suksa II students at Tessaban Khao Thaphra School in Chai Nat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare digital intelligence quotient of the experimental group students before and after using a guidance activities package to develop digital intelligence quotient; and (2) to compare digital intelligence quotient of the experimental group students who used the guidance activities package to develop digital intelligence quotient with the counterpart digital intelligence quotient of the control group students who used a set of information. The research population consisted of 40 Mathayom Suksa II students of Tessaban Khoa Thaphra School in Chai Nat province during the first semester of the 2020 academic year. They were randomly assigned cluster into an experimental group comprising 20 students and a control group comprising 20 students. The employed research instruments were (1) a guidance activities package to develop digital intelligence quotient; (2) a set of information; and (3) a scale to assess digital intelligence quotient, with .90 reliability coefficient. The employed statistics for data analysis were the mean and standard deviation. The research findings were as follows: (1) the post-experiment digital intelligence quotient of the experimental group students, who used the guidance activities package to develop digital intelligence quotient, was significantly higher than their pre-experiment counterpart digital intelligence quotient; and (2) the level of digital intelligence quotient of the experimental group students, who used the guidance activities package to develop digital intelligence quotient, was significantly higher than the counterpart digital intelligence quotient level of the control group students who used a set of information serviceen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
166576.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons