Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10602
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธำรงเจต พัฒมุข | th_TH |
dc.contributor.author | ประพันธ์ ศรีอุทัย, 2511- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-30T06:27:23Z | - |
dc.date.available | 2023-11-30T06:27:23Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10602 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) ความรู้เกี่ยวกับโรคฮวงลองบิงและการจัดการโรค 3) การจัดการโรคฮวงลองบิงในสวนส้มสายน้้าผึ้ง 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดการโรคฮวงลองบิงในสวนส้มสายน้้าผึ้ง ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรผู้ปลูกส้มในพื้นที่อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรกับกรมส่งเสริมการเกษตร ในปีการผลิต 2560/61 จำนวน 493 ราย กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ยามาเน่ ระดับความคลาดเคลื่อน 0.1 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 87 ราย รวบรวมข้อมูลโดยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรผู้ปลูกส้ม ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 46.3 ปี ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีประสบการณ์ในการปลูกส้ม เฉลี่ย 7.57 ปี มีพื้นที่ปลูกส้มเฉลี่ย 15.34 ไร่ต่อครัวเรือน เกษตรกรร้อยละ 95.40 ไม่เคยเข้ารับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการจัดการโรค ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 22,454.77 12,123.82 และ 3,500.87 ก.ก./ไร่ สำหรับส้มรุ่นที่ 1 2 และ 3 ตามลำดับ ต้นส้มส่วนใหญ่ ร้อยละ 75 แสดงอาการของโรคจากการประเมินด้วยสายตา และพบการระบาดของเพลี้ยไก่แจ้ในช่วงเดือนมีนาคมถึงกรกฏาคม หรือช่วงที่มีการแตกยอดอ่อนของส้ม 2) เกษตรกรส่วนใหญ่มีระดับความรู้เกี่ยวกับการจัดการโรคฮวงลองบิงในสวนส้มสายน้ำผึ้งอยู่ในระดับดี ร้อยละ 42.53 รองลงมาคือ ดีมาก ร้อยละ 34.48 และปานกลาง ร้อยละ 17.24 3) การจัดการโรคฮวงลองบิงในสวนส้มสายน้ำผึ้ง (1) ด้านการจัดการต้นพันธุ์ เกษตรกรจัดการโดยมีการใช้กิ่งพันธุ์ปลอดโรคขยายพันธุ์ ซึ่งมีแหล่งที่มาชัดเจน (ร้อยละ 79.31) การเข้าออกโรงเรือนต้นพันธุ์ต้องแต่งกายสะอาด หรือมีการฆ่าเชื้อโรค (ร้อยละ 54.02) (2) ด้านการจัดการโรคฮวงลองบิงในต้นส้มที่ยังไม่ให้ผลผลิต เกษตรกรจัดการโดยใช้สารเคมีควบคุมเพลี้ยไก่แจ้ ในระยะใบอ่อน และระยะผลอ่อน (ร้อยละ 98.85) มีการตัดแต่งกิ่งที่โทรมเป็นโรคออกและทำลาย (ร้อยละ 98.85) ใช้แอนติไบโอติกยืดอายุหรือฟื้นฟูต้นส้ม (ร้อยละ96.55) และใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ผสมโดโลไมท์ และเชื้อราไตรโคเดอร์มา รองก้นหลุมปลูก (ร้อยละ 93.10) (3) ด้านการจัดการโรคฮวงลองบิงในต้นส้มที่ให้ผลผลิตแล้ว เกษตรกรจัดการโดยกำจัดหรือทำลายต้นที่เป็นโรคออกจากแปลง (ร้อยละ 98.85) สำรวจเพลี้ยไก่แจ้สม่ำเสมอ ถ้ามีการระบาดจะกำจัดทันที (ร้อยละ 98.85) และใช้แอนติไบโอติกยืดอายุหรือฟื้นฟูต้นส้ม (ร้อยละ 97.70) 4) ความเห็นของเกษตรกรเกี่ยวกับระดับปัญหา (1) ปุ๋ยและสารเคมีเกษตรมีราคาสูง อยู่ในระดับมากที่สุด (2) ความแปรปรวนของอากาศมีผลต่อผลผลิต อยู่ในระดับมากที่สุด และ (3) แรงงานขาดแคลน อยู่ในระดับมากที่สุด และข้อเสนอแนะของเกษตรกรคือต้องให้มีศูนย์กลางในการถ่ายทอดความรู้หรือจุดสาธิตการจัดการศัตรูส้ม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ส้มสายน้ำผึ้ง--โรคและศัตรูพืช | th_TH |
dc.subject | ผลไม้ตระกูลส้ม--โรคและศัตรูพืช | th_TH |
dc.subject | เพลี้ย | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การจัดการการเกษตร | th_TH |
dc.title | การจัดการโรคฮวงลองบิงในสวนส้มสายน้ำผึ้งของเกษตรกรในอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | Management of citrus huanglongbing disease in Sai Nam Peung orange orchard by farmers in Fang District, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) the social and economic conditions of farmers, 2) knowledge of huanglongbing disease and huanglongbing disease management, 3) huanglongbing disease management in Sai Nam Phueng orange orchards, 4) problems and suggestions for management of huanglongbing disease in Sai Nam Phueng orange orchards.The studied population was 493 citrus farmers who registered with the Department of Agricultural Extension in the 2017-2018 production year in Fang District, Chiang Mai Province. The sample size was specified using the formula of Taro Yamane at 0.1 error level. The data were collected from 87 persons via a simple sampling method. The research tools were questionnaires, and the data were analyzed using statistics, frequency, percentage, mean, maximum, minimum, and standard deviation. The results indicated the following: 1) most of the orange farmers were male with an average age of 46.3 years with an undergraduate level of education and 7.57 years in citrus cultivation. The average citrus planting areas were 15.34 rai per household, and 95.40% of the farmers had never received disease management training. Average production yields were 22,454.77, 12,123.82, and 3,500.87 kg/rai for the 1st, 2nd, and 3rd generation of oranges. From visual assessment, approximately 75% of citrus trees showed disease symptoms, and there was an outbreak of citrus psyllids from March to July, the sprouting period of orange trees. 2) farmers had an adequate level of knowledge about huanglongbing disease in the Sai Nam Phueng Orange orchard (42.53%), followed by an excellent level of knowledge (34.48%) and a moderate level of knowledge (17.24%). 3) management of huanglongbing disease in Sai Nam Phueng orange orchards: (1) For seedling management, farmers used disease-free seedlings with known sources (79.31%). Cleanly dressed or disinfection while entering and leaving greenhouses (54.02%). (2) for huanglongbing disease management of under-yielding orange trees, Farmers used chemicals to control citrus psyllids during young leaf and fruit stages (98.85%), used antibiotics to extend or restore citrus trees (96.55%), and used organic fertilizers mixed with dolomite and tricodermic fungi (93.10%). (3) for the management of huanglongbing disease in yielding orange trees, farmers eliminated or destroyed infected trees from the plots (98.85%), regularly surveyed the orchards for citrus psyllids and immediately eliminated them should outbreaks occurred (98.85%), and used antibiotics to prolong or restore citrus trees (97.70%). 4) opinions of farmers on levels of problems: (1) fertilizers and agrochemicals were expensive (Highest level),. (2) fluctuation of the weather affected orange yields (Highest level), and .(3) labor shortage (Highest level). The farmers suggested that there should be a center for knowledge transfer or an orange management demonstration center. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License