Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10643
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทรายกะรัต เสริมแก้ว, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-12-04T03:04:36Z-
dc.date.available2023-12-04T03:04:36Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10643-
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ (2) ศึกษาระดับคุณภาพบริการตามความคาดหวังและการรับรู้ของผู้ใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอก (3) เปรียบเทียบคุณภาพบริการตามความคาดหวังกับการรับรู้ของผู้ใช้บริการ และ (4) เปรียบเทียบคุณภาพบริการตามความคาดหวังและการรับรู้ของผู้ใช้บริการตามปัจจัยส่วนบุคคลและหน่วยงานที่เข้ารับบริการของผู้ใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอกที่แตกต่างกัน ประชากร คือ ผู้มาใช้บริการในแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลศิลาลาด เฉลี่ยต่อเดือน จำนวน 3,377 คน ขนาดตัวอย่างจากการคำนวณ จำนวน 375 คน เลือกโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วนผู้มารับบริการแต่ละหน่วยงานบริการงานผู้ป่วยนอกในช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2562 เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามตามแนวคิดการประเมินคุณภาพบริการ SERVQUAL มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบวิลคอกซัน โซน์ แรงค์เทส และแมนวิทนีย์ ยูเทส ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้มาใช้บริการส่วนมากเป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 48 ปี ใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนน้อยกว่า 5,000 บาท (2) ระดับความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพบริการ ทั้งรายด้านและภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3) คุณภาพบริการโดยรวมตามการรับรู้สูงกว่าตามความคาดหวังของผู้มาใช้บริการ และพบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) ผู้ใช้บริการที่มี เพศ อายุ สิทธิการรักษา และรายได้ต่อเดือนต่างกัน มีความคาดหวังและการรับรู้ต่อคุณภาพบริการไม่แตกต่างกัน ส่วนผู้ใช้บริการในหน่วยงานบริการต่างกันมีความคาดหวังต่อคุณภาพบริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยผู้ใช้บริการหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉินมีความคาดหวังต่อคุณภาพบริการต่ำกว่าผู้ใช้บริการหน่วยงานอื่นๆ แต่ไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในด้านการรับรู้คุณภาพบริการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลศิลาลาด--แผนกผู้ป่วยนอก--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleคุณภาพบริการตามความคาดหวังและการรับรู้ของผู้ใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษth_TH
dc.title.alternativeService quality as expected and perceived by clients in the Outpatient Department of Sila Lat Hospital in Si Sa Ket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were: (1) to identify personal factors of clients; (2) to determine levels of service quality as expected and perceived by clients; (3) to compare service quality as expected and perceived by clients; and (4) to compare expected and perceived service quality by clients’ personal factor and service unit attended, all in the outpatient department (OPD) of Sila Lat Hospital, Si Sa Ket province. The study was conducted in a sample of 375 outpatients selected using proportional stratified sampling from 3,377 OPD clients (monthly average number) at Sila Lat Hospital in October 2019. Data were collected using a service quality questionnaire, modified from the SERVQUAL instrument, with a reliability value of 0.97. Statistical analysis was performed using descriptive statistics, Wilcoxon signed-rank test, and MannWhitney U test. Results showed that: (1) among all the respondents, most of them were females aged 48 years on average, under the universal health coverage scheme, and had an average monthly income less than 5,000 baht; (2) overall and all aspects of service quality as expected and perceived by clients were at a high level; (3) the overall perceived service quality was significantly higher than expected quality (p = 0.05); and (4) clients with different age, gender, health insurance and monthly income had no significant differences in expected and perceived service quality; but those attending different service units showed significant differences in expected service quality – the expectations being lowest at the accident and emergency unit, but no significant differences in perceived service qualityen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
162066.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons