Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10655
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตตินันท์ เดชะคุปต์th_TH
dc.contributor.authorพรทิพย์ ถอนโพธิ์, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-12-04T05:59:34Z-
dc.date.available2023-12-04T05:59:34Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10655en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคู่มือเป็นที่ประโยชน์ต่อครอบครัวในการให้ความรู้และวิธีปฏิบัติการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันน้ำนมของเด็กปฐมวัย ผู้ศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าตำรา เอกสารทางวิชาการร่วมกับการสัมภาษณ์พ่อแม่ผู้ปกครองจำนวน 60 ครอบครัว แบ่งเป็น 2 กลุ่มวัย ได้แก่ กลุ่มครอบครัวของเด็กปฐมวัยแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 3 ปีจำนวน 30 ครอบครัว และกลุ่มครอบครัวของเด็กปฐมวัยอายุตั้งแต่ 3 ปี จนถึงอายุ 6 ปี จำนวน 30 ครอบครัวเพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาประมวลข้อคิดเห็นที่สะท้อนความต้องการค้านเนื้อหาสาระความรู้มาเขียนเป็นโครงร่างเนื้อหาของคู่มือและขอบเขตเนื้อหาในการจัดทำคู่มือครอบครัวเพื่อพิทักษ์ฟันน้ำนม ดำเนินการนำร่างคู่มือที่เรียบเรียงเนื้อหาเรียบร้อยแล้วไปให้พ่อแม่ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยกลุ่มเดิมอ่าน เพื่อรับฟังความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะสำหรับนำไปปรับปรุงแก้ไขเป็นคู่มือฉบับสมบูรณ์ ผลการศึกษาพบว่า การพัฒนาคู่มือครอบครัวเพื่อพิทักษ์ฟันน้ำนมสำหรับพ่อแม่ผู้ปกครอง โดยเน้นการให้ความรู้และแนวทางปฏิบัติการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันน้ำนม แก่พ่อแม่ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยแรกเกิด - 6 ปี โดยนำเสนอพร้อมภาพประกอบซึ่งโครงสร้างเนื้อหาแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 บทนำครอบคลุมรายละเอียดความสำคัญของปัญหาที่ศึกษาวัตถุประสงค์ และวิธีการศึกษา ส่วนที่ 2 ประกอบด้วยบทที่ 1 บทบาทครอบครัวต่อสุขภาพช่องปากและฟันน้ำนมของเด็กปฐมวัยกล่าวถึงความสำคัญของสุขภาพช่องปากและฟันน้ำนม ตลอดจนบทบาทของพ่อแม่ผู้ปกครองต่อการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันน้ำนมของเด็กปฐมวัย บทที่ 2 ครอบครัวดูแลความสะอาดช่องปากและฟันน้ำนมของเด็กปฐมวัย กล่าวถึงการทำความสะอาดช่องปากและฟันน้ำนมแต่ละช่วงวัยตลอดจนกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก บทที่ 3 ครอบครัวชวนเด็กปฐมวัยไปหาหมอฟัน กล่าวถึง หมอฟันคือใคร การพาเด็กไปหาหมอฟันครั้งแรกเพื่ออะไรมีอาการเช่นไรพ่อแม่ผู้ปกครองควรเตรียมตัวอย่างไรเมื่อพาเด็กไปหาหมอฟัน บทที่ 4 ครอบครัวป้องกันและปกป้องฟันน้ำนมของเด็กปฐมวัย กล่าวถึง การเคลือบหลุมร่องฟัน และการเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ บทที่ 5 ครอบครัวกินอาหารถูกวิธีดีต่อสุขภาพฟันของเด็กปฐมวัย กล่าวถึง การกินอาหารถูกวิธี อาหารสัมพันธ์กับอวัยวะในช่องปาก อาหารดีมีประโยชน์เพื่อฟันแข็งแรง และส่วนที่ 3 บทสรุปครอบคลุมรายละเอียดเกี่ยวกับสรุปผลการศึกษาบทเรียนจากการศึกษาและข้อเสนอแนะth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectฟันน้ำนม--การดูแลและสุขวิทยา--การมีส่วนร่วมของบิดามารดาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การพัฒนาครอบครัวและสังคมth_TH
dc.titleการพัฒนาคู่มือครอบครัวเพื่อพิทักษ์ฟันน้ำนมของเด็กปฐมวัยth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of family manual for milk tooth protection of early childhood childrenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to develop a manual useful for families to provide knowledge and methods to look after oral health and milk tooth of early childhood children. The author studied and reviewed textbooks and academic documents together with conducting interviews with parents from 60 families of 2 aged groups of early childhood children, namely, 30 families with early childhood children from early birth to 3 years old and another 30 families with early childhood children aged 3-6 years. Data from the interviews were analyzed to reflect needs for contents on knowledge, then outlines, scope and contents of the manual were drafted. The drafted manual were brought to parents of early childhood children for comments and suggestions. After that the drafted manual were modified and corrected to be a complete manual. The development of family manual for milk tooth protection of early childhood children resulted in knowledge and methods for parents to look after oral health and milk tooth of early childhood children from birth to 6 years old. The manual contained contents together with pictures and was divided into 3 parts. Part One dealt with importance of the study, objectives and methods of study. Part Two dealt with contents of the study and were divided into 5 chapters. Chapter 1 dealt with importance of oral health and milk tooth and roles of families in looking after oral health and milk tooth of early childhood children. Chapter 2 dealt with methods to look after oral and milk tooth cleaning as well as promoting small mussels. Chapter 3 dealt with when families brought childhood children to dentists. This chapter talked about who the dentist was, why family brought children to the dentist for the first time, the children’s symptoms, and how parents prepared themselves to bright children to the dentist. Chapter 4 dealt with how family protect milk tooth of early childhood children, tooth fillings and fluoride vanish to protect tooth decay. Chapter 5 dealt with how the family consumes food in a correct way to promote good health of the early childhood children teeth including the correct way to consume food, the association between food and oral organs and how good food is useful for strong teeth. Part Three dealt with conclusion of the study lesson learned from the study and some recommendationsen_US
Appears in Collections:Hum-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161934.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons