Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1066
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี ล้ำสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปรีชา เนาว์เย็นผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorลาวัณย์ ค้าขาย, 2501--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T07:32:39Z-
dc.date.available2022-08-26T07:32:39Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1066-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้าของ นักศึกษา และ (2) ปัญหาการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาคณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ หลักสูตรครุศาสตร์ อุตสาหกรรมบัณฑิต 4 ปี 5 ปี และหลักสูตรต่อเนื่อง 2-3 ปี (ภาคปกติและภาคสมทบ) ซึ่งเป็น นักศึกษาที่ลงทะเบียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 รวมจำนวน 480 คน ได้จากการสุ่มแบบ แบ่งชั้นตามสัดส่วนของจำนวนนักศึกษาแต่ละสาขาวิชา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยที่มีผลต่อการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา คือ สาขาวิชาที่ ศึกษา 4 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า และสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สาขาวิชา วิศวกรรมเครื่องกล และภาควิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การใช้สารสนเทศจากแหล่งต่างๆ ของ นักศึกษาจำแนกแต่ละสาขาวิชามีลักษณะเด่นเฉพาะโดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อพบว่าการใช้สารสนเทศจากการขอคำแนะนำจากอาจารย์/ผู้เชี่ยวชาญ ของนักศึกษาสาขาวิชา วิศวกรรมเครื่องกลและภาควิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีค่าเฉลี่ยสูงกว่านักศึกษาสาขาวิชา วิศวกรรมไฟฟ้าและสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ซึ่งใช้สารสนเทศของสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือเป็นส่วนใหญ่ นักศึกษาใช้สื่อสิ่งพิมพ์คือ เอกสารประกอบการสอน หนังสือตำราในระดับมาก ใช้สื่อโสตทัศน์ในระดับปานกลาง และสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ในระดับน้อย (2) ปัญหาของนักศึกษาในการใช้ห้องสมุด สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คือ ทรัพยากรสารสนเทศมีน้อยไม่เพียงพอกับ ความต้องการ สารสนเทศที่มีให้บริการมีเนื้อหาไม่ทันสมัย และเนื้อหาของหนังสือ/สื่อไม่ตรงกับ ความต้องการและห้องสมุดขาดการประชาสัมพันธ์ข้อมูลแหล่งสารสนเทศและการบริการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.216-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการศึกษาขั้นอุดมศึกษา--บริการสารสนเทศ--ไทยth_TH
dc.subjectการค้นคืนสารสนเทศth_TH
dc.subjectการศึกษาการใช้ห้องสมุดth_TH
dc.titleการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษาระดับปริญญาตรีคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือth_TH
dc.title.alternativeInformation use by undergraduate students in the study process at the Faculty of Technical Education of King Mongkut's University of Technology North Bangkokth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.216-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe survey research aims to study 1) information use by undergraduate students in the study process and 2) problems of the information use by undergraduate students in the study process at the Faculty of Technical Education of King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. This is a survey research. conducted on Four hundred and eighty undergraduate students in a four-year or five-year program, and continuously two-three year (normal and extra program) at the Faculty of Technical Education of King Mongkut’s University of Technology North Bangkok who enrolled in the first semester of the academic year 2011. They were selected based on stratified random sampling according to the ratio of each field of students. The statistics used for data analysis were percentage, means, and standard deviation. The key findings of the study were as follows: Firstly, factors that influenced information use were the four fields of study of the students: electrical engineering, civil engineering, mechanical engineering and computer technology. The students were classified by each field of study, and as the special and prominent characteristic, overall used the information resources not differently, but as for each item; the mechanical engineering and computer technology students used information by consulting their teachers at a higher level than the electrical engineering and civil engineering students who used most information from the Central Library of King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. The students used printed media: teaching texts and textbooks at the high level, audio-visual media at the medium level, and electronic media at the low level. Secondly, problems faced by the students using the library were: lack of information resources as needed, un-updated books/media, irrelevant content of books/media to the students needs, and lack of efficient library public relationsen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (23).pdfเอกสารฉบับเต็ม16.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons