Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10682
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิกรณ์ รักษ์ปวงชนth_TH
dc.contributor.authorอินธิดา ผกาพันธ์, 2521-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-12-04T08:38:27Z-
dc.date.available2023-12-04T08:38:27Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10682en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา ความหมาย หลักการ ของค่าสินไหมทดแทน และความเป็นมา ความหมาย หลักการและทฤษฎีของค่าสินไหมทดแทน เพื่อการลงโทษของประเทศไทย ศึกษามาตรการทางกฎหมายของค่าสินไหมทดแทนเพื่อการ ลงโทษของประเทศไทยเปรียบเทียบกับของต่างประเทศ วิเคราะห์ปัญหาของค่าสินไหมทดแทน เพื่อการลงโทษในคดีผู้บริโภค เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมและเป็นธรรมเกี่ยวกับค่า สินไหมทดแทนเพื่อการลงโทษ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยทางเอกสารจาก หนังสือ บทความ เอกสาร ตำรา วิทยานิพนธ์ ข้อมูลจากระบบอิเล็กทรอนิกส์และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งที่เป็น ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่า การนำหลักค่าสินไหมทดแทนเพื่อการลงโทษมาใช้ในพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่ เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน พิการ พ.ศ. 2550 ถือเป็นหลักการที่ดีที่จะนำใช้ในการคุ้มครองผู้บริโภค แต่ยังมีปัญหาเกี่ยวกับการกำหนดค่าสินไหมทดแทนเพื่อการลงโทษ ซึ่งค่าสินไหมทดแทนเพื่อการลงโทษที่จะกระทำให้วัตถุประสงค์ในการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคบรรลุผลสำเร็จได้นั้น ผู้ศึกษาเห็นว่าควรกำหนด จำนวนของค่าสินไหมทดแทนเพื่อการลงโทษจะให้อยูในอัตราที่เหมาะสมจึงจะมีผลเป็น การยับยัง ข่มขู่ และป้องปรามผู้ประกอบธุรกิจและผู้ประกอบการหรือผู้ประกอบธุรกิจได้และปัญหาเรื่อง ภาระการพิสูจน์ ผู้ศึกษาเห็นว่า ควรกำหนดให้เป็นหน้าที่ของคู่ความในการเปิดเผยพยานหลักฐาน เพื่อให้การกำหนดค่าสินไหมทดแทนเพื่อการลงโทษมีความชัดเจนยิงขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectค่าสินไหมทดแทนth_TH
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภค--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--ไทยth_TH
dc.subjectผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายธุรกิจth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleค่าสินไหมทดแทนเพื่อการลงโทษในคดีผู้บริโภคth_TH
dc.title.alternativePunitive damages in consumer casesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this independent study is to study the background, meaning, principle of compensation and the background, meaning, concept, and theory of punitive damages in Thailand and to study legal measures of punitive damages in Thailand compared with overseas as well as to analyze problems of punitive damages in consumer cases including to recommend corrective guidelines appropriate to and impartial in respect of punitive damages. This independent study is a qualitative research, using the method of researching papers acquired from books, articles, papers, textbooks, thesis as well as information from e-system and all other relevance in both Thai and foreign language. On the basis of the results of this research, it can be concluded that applying punitive damages to the Consumer Case Procedure Act B.E. 2551, Liability for Damage Arising from Unsafe Products Act B.E. 2551 and Promotion and Development of Quality of life of Persons with Disabilities Act B.E. 2550 is deemed a good concept in the consumer cases. However, there are problems with specifying punitive damages. For punitive damages, which can achieve the objective of the protection of the consumer’s rights, the researcher has considered that punitive damages should be specified at an appropriate rate. Therefore, its effect can refrain, frighten and deter entrepreneurs and business operators. For the burden of proof, the researcher has considered that there should be the parties’ duty to present evidence for specifying punitive damages to be clearer.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161057.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons