กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10709
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์th_TH
dc.contributor.authorกานดา รู้เกณฑ์, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-12-07T02:08:06Z-
dc.date.available2023-12-07T02:08:06Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10709en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาภาษาไทย เรื่องการเขียนเรื่องตามจินตนาการจากภาพ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากภาพ และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 40 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย (1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากภาพ (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากภาพ มีประสิทธิภาพ 81.45/80.40 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากภาพ มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาภาษาไทย เรื่องการเขียนเรื่องตามจินตนาการจากภาพมีความพึงพอ ใจในด้านการออกแบบสีพื้นหลังว่ามีความเหมาะสม สวยงาม มากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectหนังสืออิเล็กทรอนิกส์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectภาษาไทย--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.titleการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนเรื่องตามจิตนาการจากภาพ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลแจ้ห่ม จังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of an electronic book on the Thai language course topic of Writing Stories Based on Imagination from Picture for Prathom Suksa IV students of Anuban Chae Hom School in Lampang Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop an electronic book on the Thai Language Course topic of Writing Stories Based on Imagination from Picture for Prathom Suksa IV students of Anuban Chae Hom School in Lampang province based on the set efficiency criterion; (2) to study the learning progress of the students learning from the electronic book on the Thai Language Course topic of Writing Stories Based on Imagination from Picture; and (3) to study the satisfaction of students with the electronic book on the Thai Language Course topic of Writing Stories Based on Imagination from Picture. The research sample consisted of 40 Prathom Suksa IV students in an intact classroom of Anuban Chae Hom School in Lampang province during the first semester of the 2020 academic year, obtained by cluster sampling using classroom as the sampling unit. The employed research instruments comprised (1) an electronic book on the Thai Language Course topic of Writing Stories Based on Imagination from Picture; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire on student’s satisfaction with the electronic book. Statistics used for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the developed electronic book on the Thai Language Course topic of Writing Stories Based on Imagination from Picture was efficient at 81.45/80.40, thus meeting the set 80/80 efficiency criterion; (2) the students learning from the electronic book on the Thai Language Course topic of Writing Stories Based on Imagination from Picture achieved learning progress significantly at the .05 level; and (3) the students who learned from the electronic book on the Thai Language Course topic of Writing Stories Based on Imagination from Picture were satisfied with the background color design of the electronic book that it was appropriate and beautiful at the highest level.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
166835.pdfเอกสารฉบับเต็ม33.27 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons