Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1071
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเยาวภา ปิ่นทุพันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพรทิพย์ เชิดชูพงศ์ลํ้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorขวัญชัย วิศิษฐานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอนุชา วรหาญ, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T07:46:18Z-
dc.date.available2022-08-26T07:46:18Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1071-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความคิดเห็นของหัวหน้าสถานีอนามัยในจังหวัดกาญจนบุรี เกี่ยวกับ (1.1) ระดับองค์ประกอบของความสามารถในการบริหารจัดการ และ (1.2) ระดับความสามารถในการบริหารจัดการด้านบริหารด้านบริการด้านวิชาการ และโดยรวมของตนและ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารจัดการของหัวหน้าสถานีอนามัยกับลักษณะส่วนบุคคล ความรับผิดชอบ และองค์ประกอบของความสามารถทําการศึกษากับทุกหน่วยของประชากร คือ หัวหน้าสถานีอนามัยหรือผู้รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าสถานีอนามัยทุกคนที่ปฏิบัติงานในสถานีอนามัยของจังหวัดกาญจนบุรี จํานวน 142 คน วัดระดับความสามารถในการบริหารจัดการของหัวหน้าสถานีอนามัย เป็น 5 ระดับจากต่ำที่สุด ไปหาสูงที่สุด โดยให้ประเมินตนเองตามแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งทดสอบได้ค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ 0.88 กำหนดระดับองค์ประกอบของความสามารถและระดับของความสามารถ ในการบริหารจัดการเป็นสูง กลาง และต่ำ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคว-สแคว์ และสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) หัวหน้าสถานีอนามัยประเมินตนเองว่า (1.1) มีองค์ประกอบของความสามารถในการบริหารจัดการ คือ ความรู้และการฝึกอบรมที่จําเป็น ทัศนคติที่ดี และทักษะในระดับสูง ทั้งด้านบริหาร บริการ และวิชาการ และ (1.2) มีความสามารถด้านบริหารและด้าน บริการในระดับสูง ด้านวิชาการและรวมทุกด้านในระดับปานกลาง (2) มีความสัมพันธ์ทางตรงระหว่างความสามารถในการบริหารจัดการของหัวหน้าสถานีอนามัย (2.1) ด้านบริหาร กับจํานวน อสม. ในหมู่บ้านที่รับผิดชอบในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2.2) ด้านบริหาร ด้านวิชาการ และรวมทุกด้านกับองค์ประกอบความสามารถด้านทัศนคติในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2.3) ด้านบริหาร ด้านบริการ ด้านวิชาการ และรวมทุกด้าน กับองค์ประกอบความสามารถด้านทักษะ ในระดับต่ำ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสถานีอนามัย--การบริหารth_TH
dc.subjectสาธารณสุข--การบริหารth_TH
dc.subjectสถานีอนามัย--ไทย--กาญจนบุรีth_TH
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุข--การทำงานth_TH
dc.titleความสามารถในการบริหารจัดการของหัวหน้าสถานีอนามัย เพื่อการพัฒนางานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe management capabilities of health center chief for developing public health work in Kanchanaburi provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study aimed at assessment of (1) management capabilities of Health Center CHIEFS in the following domains administrative service technical and global (2) relationship between The management Health Center Chief and Health information, performance data and Capabilities Study Population consisted of 142 Health Center Chief or their acting Health Center Chief in Kanchanaburi Province Self-assessment questionair was used to measur their management Skills. The Velidity of questionair was 0.88. Descriptive statistics percentage, average, standard deviation, chi-square test and Pearson Corelation were used to describe data. The results showed that (1) administrative and service skills were high while technical and globel skills were moderate (2) The Management Capabilities was significantly related to altitude (at < .05) and to skills (at < .01)en_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
82124.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons