Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10742
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารยา ประเสริฐชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมโภช รติโอฬาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธารทิพย์ ศรีสมัย, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-07T08:36:58Z-
dc.date.available2023-12-07T08:36:58Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10742-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การสนับสนุนจากองค์กรและการดำเนินงานระบบสุขภาพระดับอำเภอ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา (2) ความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านบุคคลการสนับสนุนจากองค์กรกับการดำเนินงานระบบสุขภาพระดับอำเภอ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา (3) การสร้างสมการพยากรณ์ระหว่างการสนับสนุนจากองค์กรกับการดำเนินงานระบบสุขภาพระดับอำเภอ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา และ (4) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานระบบสุขภาพระดับอำเภอประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นคณะกรรมการดำเนินงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอในเขตพื้นที่อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จำนวน 138 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) การสนับสนุนจากองค์กร และการดำเนินงานระบบสุขภาพระดับอำเภอ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ความสัมพันธ์ของการสนับสนุนจากองค์กรกับการดำเนินงานระบบสุขภาพระดับอำเภอ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา ปัจจัยด้านบุคคล ด้านงบประมาณ ด้านวัสดุอุปกรณ์ ด้านเวลา และด้านเทคโนโลยี มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการดำเนินงานระบบสุขภาพระดับอำเภอ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) สมการพยากรณ์ พบว่าการสนับสนุนจากองค์กร ด้านเทคโนโลยีเป็นตัวแปรที่มีอำนาจพยากรณ์ที่ดีที่สุดต่อการดำเนินงานระบบสุขภาพระดับอำเภอ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีความสามารถในการอธิบายการดำเนินงานระบบสุขภาพระดับอำเภอ ร้อยละ 51.30 และ(4) ปัญหาอุปสรรค พบว่าเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอขาดการประชุมขับเคลื่อนเพื่อวางแผนพัฒนางานตามบริบทระบบสุขภาพของพื้นที่อย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพ--ไทย--สงขลาth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงานระบบสุขภาพระดับอำเภอ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the implementation of District Health System in Na Thawi District, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this thesis were: (1) to identify organizational support factors in the implementation of the District Health System (DHS); (2) to determine the relationship between personal factors as well as organizational support factors and the DHS implementation; (3) to create a predictive equation for explaining the relationship between organizational support and the DHS; and (4) to identity problems and make suggestions related to the DHS implementation, all in Songkhla’s Na Thawi District. The study involved all 138 members of the steering committee on Na Thawi District Health System or Network. Data were collected using a questionnaire and then analyzed using statistics, including mean, standard deviation, Pearson's Correlation Coefficient, and stepwise multiple regression. The results showed that, according to respondents' opinions on Na Thawi District's DHS implementation: (1) the overall organizational support and the DHS implementation were at a high level; (2) personal factors and organizational support Factors (budget, materials, time, and technology) were positively and significantly related to the DHS implementation, P= 0.05; (3) based on the predictive equation, organizational (technology) support significantly had the highest predictive power on the DHS implementation P= 0.05; and technology could explain 51.30% of the variation in the implementation; and (4) the problem identified was the lack of committee meetings to drive the planning for development as well as the implementation of in Na Thawi District District Health System according to the district health system contexten_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons