Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10743
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พาณี สีตกะลิน | th_TH |
dc.contributor.author | ยูนัยน๊ะ หะยีบือราเฮง, 2532- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-07T08:50:56Z | - |
dc.date.available | 2023-12-07T08:50:56Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10743 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของผู้มารับบริการคลอด (2) ศึกษาระดับการรับรู้และความคาดหวังต่อคุณภาพบริการที่ห้องคลอด (3) เปรียบเทียบการรับรู้และความคาดหวังของผู้มารับบริการต่อคุณภาพบริการที่ห้องคลอดในโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียงในอำเภอแห่งหนึ่งจังหวัดยะลาประชากรในการศึกษาครั้งนี้เป็นผู้มารับบริการที่ห้องคลอดขณะคลอดและพักฟื้นหลังคลอด จำนวน 681 ราย กลุ่มตัวอย่าง โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย ช่วงเวลาระหว่าง มิถุนายนถึง สิงหาคม 2563 จากการคำนวณ ได้ 246 ราย เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม ประกอบด้วยส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้มารับบริการ ส่วนที่ 2 คุณภาพบริการ ด้านโครงสร้าง กระบวนการและ ผลลัพธ์ ตามการรับรู้และความคาดหวังของผู้มารับบริการมีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าทีผลการวิจัย พบว่า (1) ผู้มารับบริการคลอด ส่วนมาก อายุ 26-30 ปี มารับบริการครั้งแรกเป็นการคลอดปกติ มีอาชีพเป็นแม่บ้าน และอยู่ในเขตบริการที่อยู่ในความรับผิดชอบของโรงพยาบาล (2) ระดับการรับรู้คุณภาพบริการในภาพรวมอยู่ในระดับมากและระดับความคาดหวังคุณภาพรับบริการในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ (3) ผู้มารับบริการคลอดมีระดับการคาดหวังสูงกว่าระดับการรับรู้ทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลลัพธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ความคาดหวัง (จิตวิทยา) | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาล--บริการลูกค้า | th_TH |
dc.title | การรับรู้และความคาดหวังของผู้มารับบริการต่อคุณภาพบริการที่ห้องคลอด ที่โรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียงในอำเภอแห่งหนึ่งจังหวัดยะลา | th_TH |
dc.title.alternative | Perceptions and expectations of maternity service at a community hospital with a size of 30 beds in a district of Yala Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were to (1) identify personal factors of maternity-care recipients, (2) determine the levels of client perceptions and expectations of the quality of delivery room service, and (3) compare clients’ perceptions and expectations of the quality of maternity services at a 30-beds community/district hospital in Yala province The study was conducted in 246 clients randomly selected out of all 681 maternity-care clients at the hospital between June and August 2020. Data were collected using a questionnaire: part 1 for personal factors of service recipients and part 2 on clients’ expectations and perceptions of the service quality, structure, process and outcomes, and its reliability value was 0.95. The statistics used for data analysis include mean, percentage, and standard deviation; and an independent t-test, one way analysis of variance and paired t-test of differences were performed. The results showed that: (1) most of the respondents were housewives in the 26-30-year age group, had first normal childbirths, and lived in the designated area of the hospital; (2) regarding service quality, the overall level of recipients’ perceptions was high, while that for recipients’ expectations was highest; and (3) the levels of expectations were significantly higher than the levels of perceptions in all three aspects (inputs, process and outcomes; P = 0.05). | en_US |
dc.contributor.coadvisor | พรทิพย์ กีระพงษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License