Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10774
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสำอาง สืบสมาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวศินา จันทรศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภิญญา สมญา, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-08T06:43:43Z-
dc.date.available2023-12-08T06:43:43Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10774-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.(การจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคลของกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบของผู้ใหญ่ที่มีน้ำหนักเกิน (2) เปรียบเทียบความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารต่อการลดน้ำหนักก่อน และ หลังการใช้โปรแกรมลดน้ำหนักโดยใช้หน่วยตวงอาหารในครัวเรือน ภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบของผู้ใหญ่ที่มีน้ำหนักเกินและ (3) เปรียบเทียบภาวะโภชนาการก่อน และหลังการใช้โปรแกรมลดน้ำหนักโดยใช้หน่วยตวงอาหารในครัวเรือน ภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบของผู้ใหญ่ที่มีน้ำหนักเกินที่มารับบริการในตึกผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลศรีสมเด็จ อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ดการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบกึ่งทดลอง คือกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ โดยให้โปรแกรมลดน้ำหนักที่ใช้หน่วยตวงอาหารในครัวเรือน กลุ่มตัวอย่างจำนวนกลุ่มละ 42 คน สุ่มอย่างมีระบบจากประชากรที่เป็นผู้ใหญ่น้ำหนักเกินอายุ 25-45 ปี มารับบริการด้านสุขภาพจากโรงพยาบาลศรีสมเด็จ ประจำปี 2561จำนวน 500 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นโปรแกรมลดน้ำหนักโดยใช้หน่วยตวงอาหารในครัวเรือน และแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความรู้ เจตคติในการลดน้ำหนัก แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหารวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปด้วยสถิติเชิงพรรณาและสถิติทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มทดลองส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 39.05+5.43 ปี สถานภาพสมรส ศึกษาระดับมัธยมศึกษามากที่สุด ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร รายได้ต่อเดือนน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5,000 บาทมากที่สุด กลุ่มเปรียบเทียบเป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 36.48+6.31 ปี สถานภาพสมรส จบการศึกษาระดับปริญญาตรีมากที่สุด ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง/ลูกจ้าง มีรายได้ต่อเดือน 5,001-10,000 บาท มากที่สุด (2) กลุ่มเปรียบเทียบมีความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการบริโคอาหารไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และ (3) ค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่มก่อนการทดลองไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีรอบเอวเฉลี่ยน้อยกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.01) แต่ดัชนีมวลกายไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผู้ป่วย--โภชนาการ.th_TH
dc.subjectอาหารลดน้ำหนัก--รายการอาหารth_TH
dc.subjectการลดความอ้วนth_TH
dc.subjectการกำหนดอาหารth_TH
dc.titleประสิทธิผลของโปรแกรมลดน้ำหนักโดยใช้หน่วยตวงอาหารในครัวเรือนต่อความรู้ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และภาวะโภชนาการของผู้ใหญ่ที่ภาวะน้ำหนักเกินที่มารับบริการในตึกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ดth_TH
dc.title.alternativeEffectiveness of a weight loss program using household food measuring units on knowledge, food consumption behavior and nutritional status of overweight adults, receiving outpatient services at Sri Somdet Hospital, Roi Et Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to: (1) study socio-economic characteristics of the experimental and the comparison groups among overweight adults; (2) compare knowledge, attitude, and healthy eating behavior before and after program intervention within and between groups; and (3) compare nutritional status within and between groups before and after receiving intervention among outpatients at Sri Somdet Hospital, Sri Somdet District, Roi Et province. The study design was a two-group quasi-experimental research on a weight loss program using household food measuring units. The sample consisted of 42 people for each of the two groups aged 25-45 years, randomly sampled from 500 outpatients of Sri Somdet Hospital. The tools used were the one month weight loss program and questionnaires measuring status before and after intervention. Nutritional status was measured by body mass index and waist circumference. Descriptive statistics analyzed frequencies, percentages, means and standard deviations (SD). T-tests were used for statistical inferences on means. Results of the study were as follows: (1) the experimental group was mostly females, average age 39.05 (5.43SD) years, mostly married, with secondary school as the highest educational level, mostly farmers, with monthly income of 5,000 baht or less. The comparison group consisted of females, average age 36.48 (6.31SD) years, mostly married, with a bachelor degree as the highest educational level, mostly employees, with monthly income of 5,001-10,000 baht; (2) comparing knowledge, attitude, and health behavior in food diet before and after participating the study within the groups, it was found that there was no statistical difference within the comparison group while within the experimental group, there was significantly higher after the program intervention (p<0.05); and (3) the mean body mass index within the groups were not significantly different. Comparing between groups, it was found that the experimental group had an average waistline statistically significantly lower than the comparison group (p<0.01) but body mass index was not different.en_US
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons