Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10776
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาริณี เอี่ยมสวัสดิกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชื่นจิตร โพธิศัพท์สุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิ่งเพชร แก้วสิงห์, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-08T07:00:10Z-
dc.date.available2023-12-08T07:00:10Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10776-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานด้านการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และระดับน้ำตาลในเลือดของกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังได้รับโปรแกรม และระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ หลังได้รับโปรแกรม กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ที่มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมง 100-125 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร แต่ยังไม่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานจากแพทย์ มีอายุ 35-60 ปี เพศหญิง อาศัยอยู่ในตำบลค้อใหญ่และตำบลคำไฮ อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 62 คน ที่ได้จากการคัดเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ในการคัดเข้าศึกษา เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 31 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองเป็นโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานกลุ่มเสี่ยง ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองตามแนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบสอบถาม มี 2 ส่วน ได้แก่ (1) ข้อมูลทั่วไป (2) พฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานกลุ่มเสี่ยง มีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา .94 และมีค่าความเที่ยง .85 2) เครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือด และ 3) แบบบันทึกข้อมูลสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และสถิติการทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า (1) หลังได้รับโปรแกรม กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวาน พฤติกรรมการรับประทานอาหารและการออกกำลังกายสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมและกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) หลังได้รับโปรแกรม กลุ่มทดลองมีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมและกลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเบาหวาน--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.titleผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานกลุ่มเสี่ยง อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ดth_TH
dc.title.alternativeEffects of a preventive behaviors Development Program for Diabetes Mellitus risk at Phanom Phrai District, Roi Et Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this quasi-experimental research were to compare preventive behaviors and the level of blood sugar of the experimental group before and after experiment, and after experiment between the experimental group and the comparison group. The sample comprised 62 Diabetes Mellitus risks, who had the level of fasting blood sugar 100-125 mg./dl., had not diagnosed DM by doctor, aged 35-60 years, female and lived at Kawyai and Kamhai subdistrict, Phanom Phrai district, Roi Et province. They were selected by the purposive sampling technique as inclusion criteria to be in the experimental group and the comparison group respectively, 31 persons in each group. The experimental tool was the Preventive Behaviors Development Program for Diabetes Mellitus risk based on the health belief model. The collecting data tools were 1) questionnaires with 2 parts: (1) general data and (2) preventive behaviors (CVI .94 and reliability .85), 2) the glucometer, and 3) a health data record form. Data were analyzed by descriptive statistics and t-test. The results found as follow. (1) After the experiment, preventive behaviors, eating and exercise behaviors of the experimental group were significantly higher than before experiment and higher than the comparison group (p < .05). (2) After the experiment, the level of fasting blood sugar of the experimental group were significantly lower than before experiment and lower than the comparison group (p < .05).en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons