Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10792
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อภิรดี ศรีโอภาส | th_TH |
dc.contributor.author | จักรพงษ์ สิงห์ธนาวณิช, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-12T06:05:54Z | - |
dc.date.available | 2023-12-12T06:05:54Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10792 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างตู้ครอบลดเสียงแบบถอดย้ายได้ สำหรับใช้ลดเสียงจากการทำงานของเครื่องอัดแอมโมเนียแบบลูกสูบในโรงงานผลิตน้ำแข็งซองแห่งหนึ่ง จังหวัดระนอง และ (2) เปรียบเทียบระดับเสียงก่อนและหลังติดตั้งตู้ครอบลดเสียงแบบถอดย้ายได้ ผลการศึกษาพบว่า (1) ตู้ครอบลดเสียงแบบถอดย้ายได้มีขนาด กว้าง 5 เมตร ยาว 5 เมตร สูง 2 เมตร ทำจากฉนวนใยแก้วและแผ่นไวนิล สามารถลดเสียงของเครื่องอัดแอมโมเนียแบบลูกสูบลงได้ 10.4 เดซิเบลเอ และ (2) เมื่อทำการเปรียบเทียบระดับเสียงเฉลี่ยก่อนและหลังติดตั้งตู้ครอบลดเสียงที่เครื่องอัดแอมโมเนียแบบลูกสูบพบว่าระดับเสียงเฉลี่ยบริเวณพื้นที่การทำงานจากเดิมมีระดับเสียง 88.3 เดซิเบลเอ ลดลงเหลือ 77.9 เดซิเบลเอ ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายกำหนด โดยระดับเสียงที่ผู้ปฏิบัติงานสัมผัสตลอดระยะเวลาการทำงาน 8 ชั่วโมง ไม่เกิน 85 เดซิเบลเอนอกจากนี้ตู้ครอบลดเสียงดังกล่าวยังสะดวกต่อการติดตั้งและเคลื่อนย้าย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | เครื่องมือในการอุตสาหกรรม--การออบแบบและการสร้าง | th_TH |
dc.subject | อุตสาหกรรมน้ำแข็ง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม | th_TH |
dc.title | การพัฒนาตู้ครอบลดเสียงแบบถอดย้ายได้สำหรับเครื่องอัดแอมโมเนียแบบลูกสูบในโรงงานผลิตน้ำแข็งซองแห่งหนึ่ง จังหวัดระนอง | th_TH |
dc.title.alternative | Development of removable sound enclosures for reciprocating ammonia compressors in an ice factory in Ranong Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were: (1) to build removable sound enclosures for reducing the noise levels from the reciprocating ammonia compressors and (2) to compare the noise levels before and after the installation of the removable sound enclosures, both at an ice factory in Ranong province. The mass-law theory and sound-transmission-index theory were applied to build the removable sound enclosures. The walls of sound enclosure were made of fiberglass and vinyl sheets. Then, the noise levels were measured and compared at the frequency of 63–8000 Hz before and after the sound enclosures were installed while the reciprocating ammonia compressors were working. The results showed that (1) each of the removable sound enclosures which had a 5-meter width, a 5-meter length, and a 2-meter height could reduce the noise level by 10.4 dBA from the reciprocating ammonia compressor and (2) The average noise levels in the working area were 88.3 and 77.9 dBA before and after installing the sound enclosure at each reciprocating ammonia compressor, respectively. Removable sound enclosures could reduce the noise level in working area to not greater than 85 dBA for an 8-hour workday required by law. Furthermore, they were convenient to install and relocate | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168954.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License