Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1082
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศริศักดิ์ สุนทรไชย | th_TH |
dc.contributor.author | วิชาวุธ พงศ์ธำรง, 2515- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-26T08:09:59Z | - |
dc.date.available | 2022-08-26T08:09:59Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1082 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การนำกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงาน อาหารกระป๋องมาใช้เป็นส่วนผสมของวัสดุปลูกต้นบานในและดาวเรืองได้ (2) หาอัตราส่วนผสมที่เหมาะสมของวัสดุปลูกระหว่างดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ และกากตะกอนบำบัดน้ำเสียที่ทำให้ต้นบานชื่นและดาวเรืองเจริญเติบโตได้ดี การวิจัยเป็นการทดลองในเรือนเพาะชำ โดยการนำกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงานอาหารกระป๋อง ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ จากจังหวัดระยองมาผสมในอัตราส่วนต่าง ๆ โดยปริมาตร มาทดลองปลูกต้นบานชื่นและดาวเรือง โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มโดยสมบูรณ์ จํานวน 5 ชุดการทดลองตามอัตราส่วนต่าง ๆ 5 อัตราส่วน ได้แก่ ชุดดินที่มีกากตะกอนบำบัดน้ำเสียอย่างเดียว ชุดดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ 25 ส่วนกับกากตะกอนบำบัดน้ำเสีย 75 ส่วนโดยปริมาตร ชุดดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ 50 ส่วนกับกากตะกอนบำบัดน้ำเสีย 50 ส่วนโดยปริมาตร ชุดดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ 75 ส่วนกับกากตะกอนบำบัดน้ำเสีย 25 ส่วนโดยปริมาตร ชุดดินที่มีความอุดมสมบูรณ์อย่างเดียว จำนวน 5 แล้วทำการวัดอัตราการเจริญเติบโตในด้านความสูง ขนาดลำต้น จำนวนใบและจำนวนดอก โดยใช้เวอร์เนียและตลับเมตร และวิเคราะห์ทางสถิติเพียหาค่าหาความแปรปสวนทางเดียว การทดลองพบว่า (1) กากตะกอนจากบ่อหมักสุดท้ายของระบบำบัดน้ำเสียสามารถนํามาใช้เป็นวัสดุปลูกต้นบานชื่นและดาวเรือง (2) กากตะกอนบำบัดน้ำเสียของโรงงานอาหารกระป๋องสามารถนำมาใช้เป็นวัสดุปลูกต้นบานชื่นและดาวเรืองได้ดีตามอัตราส่วนผสมที่มีกากตะกอนบำบัดน้ำเสียมากขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.173 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | กากตะกอนน้ำเสีย--การใช้ประโยชน์ | th_TH |
dc.subject | บานชื่น | th_TH |
dc.subject | ดาวเรือง | th_TH |
dc.title | การใช้ประโยชน์จากกากตะกอนบำบัดน้ำเสียของโรงงานอาหารกระป๋องเป็นวัสดุปลูกต้นบานชื่นและดาวเรือง | th_TH |
dc.title.alternative | Utilization of sludge from wastewater treatment plant of a canned food factory as growing media for zinnia elegans and tagetes erecta | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.173 | - |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to use sludge from wastewater treatment plant of a canned food factory as growing media for Zinnia elegans and Tagetes erecta; and (2) to find out the suitable ratio of growing media between low humus soil and sludge for the best growth of Zinnia elegans and Tagetes erecta. This experimental research was conducted in greenhouse by using sludge from wastewater treatment system of a canned food factory mixed with low humus soil from Rayong Province at various ratios for growing Zinnia elegans and Tagetes erecta. The experiment was Completely Randomized Design at 5 ratios including sludge only, low humus soil 25 part and sludge 75 part by volume, low humus soil 50 part and sludge 50 part by volume, low humus soil 75 part and sludge 25 part by volume, and low humus soil only. All ratios were repeated 5 times. Growth rate of the plants was recorded in terms of height, size of stem, number of leaves and flowers. The instruments used were vernia and meter casket. The statistical analysis used was one-way ANOVA. The results of the study were found that (1) the sludge from the fermentation tank could be used as growing media for Zinnia elegans and Tagetes erecta; (2) the sludge from wastewater treatment plant of the factory could be used as growing media for Zinnia elegans and Tagetes erecta at higher ratios of the sludge in growing media | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สมทรง อินสว่าง | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ศักดา ศรีนิเวศน์ | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License