Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10844
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอาริยา นาคแก้ว, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-14T07:51:18Z-
dc.date.available2023-12-14T07:51:18Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10844-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตและการลดต้นทุนการผลิตข้าว ในประเด็นต่อไปนี้ (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) แหล่งความรู้เกี่ยวกับการเพิ่มผลผลิตและการลดต้นทุนการผลิตข้าว (3) การปฏิบัติของเกษตรกรตามแนวทางการส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิตข้าว (4) การยอมรับการส่งเสริมหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี และ (5) ปัญหาการผลิตข้าวและความต้องการของเกษตรกรเกี่ยวกับการส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตและการลดต้นทุนการผลิตข้าว ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ที่ได้ขึ้นทะเบียนเกษตรกรไว้กับสำนักงานเกษตรอำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครครีธรรมราช จำนวนทั้งหมด 1,139 ราย โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ เกษตรกรที่เป็นสมาชิกนาแปลงใหญ่จำนวน 331 ราย และเกษตรกรทั่วไปที่ไม่ได้เป็นสมาชิกนาแปลงใหญ่จำนวน 808 ราย การกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ที่ความคลาดเคลื่อน 0.08 โดยคำนวณจากจำนวนเกษตรกรที่เป็นสมาชิกนาแปลงใหญ่ ได้กลุ่มเกษตรกรตัวอย่างจำนวน 107 ราย และกำหนดเกษตรกรผู้ปลูกข้าวทั่วไปในพื้นที่ใกล้เคียง จำนวน 107 รายเท่ากัน ทำการสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายทั้ง 2 กลุ่ม ใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) สมาชิกนาแปลงใหญ่และเกษตรกรทั่วไปที่ให้ข้อมูล อายุเฉลี่ย 56.1 และ 53.32 ปี ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา เกือบทั้งหมดเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร (2) แหล่งความรู้ของเกษตรกรเกี่ยวกับการเพิ่มผลผลิตและการลดต้นทุนการผลิตข้าว เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่ม ทุกครัวเรือนมีโทรทัศน์ซึ่งเป็นสื่อที่สามารถรับความรู้ด้านการเกษตร ทุกหมู่บ้านมีหอกระจายข่าว (3) การปฏิบัติของเกษตรกรตามแนวทางการส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิตข้าว เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่ม ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญในด้านการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์เป็นลำดับแรก เนื่องจากเมล็ดพันธุ์ที่ดีเป็นปัจจัยสำคัญในการให้ผลผลิตในแต่ละรอบการผลิต (4) เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่มมีการปฏิบัติครบทุกข้อตามการส่งเสริมหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีเพื่อการเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิตข้าว และ (5) แหล่งน้ำเป็นปัญหาที่เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่มให้ความสำคัญในระดับมากที่สุด และมีความต้องการในภาพรวมทางด้านการเพิ่มผลผลิตและการลดต้นทุนการผลิตข้าวอยู่ในระดับมาก เมื่อเปรียบเทียบเกษตรกรทั้ง 2 กลุ่ม พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในบางประเด็นของการปฏิบัติของเกษตรกรตามแนวทางการส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิตข้าวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าว--ต้นทุนการผลิตth_TH
dc.subjectข้าว--การปลูก--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตร--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.titleการส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตและการลดต้นทุนการผลิตข้าวในอำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeAn extension of enhancing product and reducing cost for rice production in Chian Yai District of Nakhon Si Thammarat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the results of an extension of enhancing product and reducing cost for rice production in the following aspects: (1) socio-economic status of farmers on , (2) knowledge sources of farmers on the enhancing product and reducing cost for rice production, (3) the farmers’ practice in following the guidelines an extension of enhancing product and reducing cost for rice production, (4) the farmers’ adoption on an extension of the good agricultural practice principle, and (5) the problems and needs of farmers in an extension of enhancing product and reducing cost for rice production. The population in the study were 1,139 farmers who registered as rice farmers at Chian Yai Agricultural District in Nakhon Si Thammarat Province divided into two groups: 331 rice collaborative farm members and 808 general farmers (non-members of rice collaborative farms). The sample size was determined from the population of the first group by Taro Yamane’s formula with an error of 0.08 accounting for 107 samples and the samples of the second group were the same number of 107 general rice farmers whose rice fields were nearby. Simple random sampling method was used for sampling and a structural interview questionnaire was used as a research tool. Statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and Chi-square test. The results revealed that (1) the rice collaborative farm members and general farmers had the average age of 56.1 and 53.32 years respectively. The majority of both groups completed primary education and most of them were members of farmer groups. (2) As the knowledge sources of farmers on the enhancing product and reducing cost for rice production, all of both groups had television sets for each household which could receive agricultural knowledge and every village had a news distribution tower. (3) The farmers’ practice in following the guidelines an extension of enhancing product and reducing cost for rice production, most of them focused on seed selection as the first priority because good seed was an important factor in the production of each production cycle. (4) The farmers’ adoption on an extension of the good agricultural practice principle for enhancing product and reducing cost for rice production, both farmer groups followed all guidelines in all aspects. (5) Water source was the most important problem for both groups, and an extension of enhancing product and production cost reduction were needed at a high level. The comparison of two farmer groups, it was found that there were statistically significant differences at 0.05 level in some aspects of the practice in following the guidelines an extension of enhancing product and reducing cost for rice productionen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons