Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10868
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภาth_TH
dc.contributor.authorลัดดาวัลย์ ดาราศร, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-15T03:47:19Z-
dc.date.available2023-12-15T03:47:19Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10868-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ (2) ปัจจัยระดับบุคคลและปัจจัยระดับองค์กร (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยระดับบุคคล และปัจจัยระดับองค์กรกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของกำลังพลสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ประชากรที่ศึกษา คือ กำลังพลของสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมที่เข้ารับการตรวจสุขภาพประจำปี 2562 จำนวน 4,425 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 367 คน จากการสุ่มแบบชั้นภูมิตามหน่วยงาน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นระหว่าง 0.70-0.85 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า (1) พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกำลังพลของสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมในภาพรวมอยู่ในระดับพอใช้ (2) ปัจจัยระดับบุคคล พบว่า กลุ่มตัวอย่างอายุเฉลี่ย 39.45 ปี ส่วนใหญ่มีชั้นยศระดับนายทหารสัญญาบัตรมีสุขภาพแข็งแรงดีมากที่สุด ด้านความเชื่อมั่นในความสามารถของตนโดยรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยระดับองค์กร โดยรวมอยู่ในระดับมาก (3) ปัจจัยระดับบุคคล ด้านความเชื่อมั่นในความสามารถของตน มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพโดยรวม ที่ระดับ 0.001 ส่วนปัจจัยระดับองค์กร ด้านนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพและแรงสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพโดยรวมที่ระดับ 0.05 และ 0.001 ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม--บริการส่งเสริมสุขภาพth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยระดับบุคคลและปัจจัยระดับองค์กรกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของกำลังพลสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมth_TH
dc.title.alternativeThe relationships between personal factors, organizational factors, and health promoting behaviors among the Office of the Permanent Secretary for Defence’s Personnelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this descriptive research were: (1) to identify health promoting behaviors; (2) to describe personal and organizational factors; (3) to determine the relationships between personal and organizational factors, and health promoting behaviors of the Office of the Permanent Secretary for Defence’s personnel. The study was conducted in a sample of 367 staff members selected using stratified random sampling according to work unit from 4,425 personnel undergoing annual health checkups of the Office of the Permanent Secretary for Defence in 2019. Data were collected using a questionnaire with the reliability coefficient of 0.65–0.85. The statistics used were frequency, percentage, means, standard deviation, chi-square test, and Spearman rank correlation coefficient. The results showed that, among the participating military personnel: (1) their health promoting behaviors were at the moderate level; (2) regarding personal factors, they had an average age of 39.45 years, mostly worked at the commission level, were healthy, had overall self-efficacy at the high level, and had organizational factors at the high level; and (3) their personal factors, especially self-efficacy, were associated with overall health promoting behaviors (p<0.001), and organizational factors, especially health promoting policy and social support, were associated with overall health promoting behaviors (p<.05 and p<0.001, respectively).en_US
dc.contributor.coadvisorพาณี สีตกะลินth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons