Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1094
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปีติ พูนไชยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรัญ ขวัญปาน, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T02:17:38Z-
dc.date.available2022-08-27T02:17:38Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1094-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการกำจัดตะกั่วจากน้ำเสียสังเคราะห์ด้วยกระบวนการดูดติดผิว โดยใช้ถ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากกะลาลูกตาลโตนด การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยแบ่งเป็น 3 ในการทดลอง ขั้นตอนที่หนึ่ง เป็นการเตรียมอ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากกะละลูกตาลโตนด (Endocarp) ที่ผ่านการกระตุ้นทางเคมี โดยใช้โซเดียมคลอไรด์ (Nucl) ศึกษาลักษณะทางกายภาพและประสิทธิภาพของถ่านกัมมันต์ที่เตรียมขึ้น โดยการวัดค่าไอโอดีนนัมเบอร์ ขั้นตอนที่สอง ทําการทดลองแบบทีละเท (Batch Experiment) ศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการดูดติดผิวตะกั่ว ได้แก่ พีเอช เวลาสัมผัส และปริมาณถ่านกัมมันต์ เพื่อทดสอบไอโซเทอมการดูดติดผิวแบบฟรุนคลซและขั้นตอนที่สาม การทดลองแบบต่อเนื่อง (Continuous Experiment) โดยใช้ถังดูดติดผิวแบบแท่งเพื่อศึกษาประสิทธิภาพการใช้งานของถ่านกัมมันต์ ผลการวิจัยพบว่า ในขั้นตอนที่หนึ่ง อุณหภูมิที่เหมาะสมที่ใช้ในการเผากระตุ้นคือ 800 องศาเซลเซียส อัตราส่วนนําหนักของวัตถุดิบต่อสารกระตุ้นที่เหมาะสมคือ 1:1 ได้ค่าไอโอดีนสูงสุดเท่ากับ 711,463 มิลลิกรัมของไอโอดีนต่อกรัมของถ่านกัมมันต์ และพื้นที่ผิวเท่ากับ 905 ตารางเมตรต่อกรัม ขั้นตอนที่สอง การดูดติดผิวสูงขึ้นเมื่อพีเอชของน้ำเสียสังเคราะห์เพิ่มขึ้นตั้งแต่พีเอช 2 ถึงพีเอช 9 และตั้งแต่พีเอช 4 ขึ้นไป พบว่าถ่านกัมมันต์มีประสิทธิภาพในการกำจัดตะกั่วสูงกว่า 90% ทั้งนี้เนื่องจากเกิดการดูดติดผิวของถ่านกัมมันต์ร่วมกับการตกตะกอนของตะกั่ว ผลของเวลาสัมผัสพบว่าสมดุลของการดูดดผิวสําหรับถ่านกัมมันต์ คือ 10 นาที ผลของการหาไอโซเทอมการดูดติดผิวแบบฟรุนดลิช แสดงให้เห็นว่าถ่านกัมมันต์มีความสามารถในการดูดติดผิว 8.5 มิลลิกรัม ของตะกั่วต่อกรัมของถ่านกัมมันต์ ในขั้นตอนที่สาม ความสูงของชั้นถ่าน 30, 60, 90 และ 120 เซนติเมตร สามารถกําจัดตะกั่วได้ 10,626, 5.42 และ 5 มิลลิกรัมต่อกรัมตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.287-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectน้ำเสีย--การบำบัด--การกำจัดตะกั่วth_TH
dc.subjectน้ำเสีย--การบำบัด--การดูดซับth_TH
dc.subjectกะลาลูกตาลโตนด--การใช้ประโยชน์th_TH
dc.subjectถ่านกัมมันต์th_TH
dc.titleการกำจัดตะกั่วจากน้ำเสียสังเคราะห์ด้วยกระบวนการดูดติดผิวโดยใช้ถ่านกัมมันต์จากกะลาลูกตาลโตนดth_TH
dc.title.alternativeLead removal from synthetic wastewater by the adsorption of activated carbon made from borassus flabellifer linn endocarpth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2004.287-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of the research was to study the lead removal efficiency from synthetic wastewater by the adsorption process using activated carbon made from borassus flabellifer linn Endocarp. The research was an experiment research that divided into 3 parts. The first part was preparation of activated carbon made from borassus flabellifer linn endocarp which was chemically activated by sodium chloride (NaCl). The physical properties and efficiency of the activated carbon were studied by measuring the iodine number value. The second part was a batch experiment to study the various factors which might effect the lead adsorption. These factors was pH, contact time and amount of the activated carbon. This was the Freundlish adsorption isotherm test. The third part was continuous experiment by using a column adsorption to study the activated carbon performance efficiency. The research results showed that, in the first part, the optimal activated temperature was 800 degree Celsius. The ratio by weight of raw material to sodium chloride was 1 ะ!, The highest iodine number was 711.463 milligram of iodine per gram of the activated carbon and surface area 905 square meter per gram. The second part, the adsorption was increased w hen pH of the synthetic wastewater was increased from pH 2 to pH 9 and from pH 4 onward it was found that the activated carbons had the lead removal efficiency more than 90 %. This was due to the activated carbon adsorption incorporated with the lead precipitation. The result of contact time as the equilibrium of the activated carbon was 10 minutes. The results of the Freundlich adsorption isotherm showed that the activated carbon was able to adsorp at 8.5 milligram of lead per gram of the activated carbon. The third part, the activated carbon height at 30, 60, 90 and 120 centimeter could remove lead at 10, 6.26, 5.42 and 5 milligram per gram respectivelyen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83856.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons