Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10975
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพลาดร ฐานะ, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-21T08:05:00Z-
dc.date.available2023-12-21T08:05:00Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10975-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของสมาชิกกลุ่มนาแปลงใหญ่ตำบลหนองชัยศรี 2) การดำเนินงานของกลุ่มนาแปลงใหญ่ 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานของกลุ่มนาแปลงใหญ่ 4) การได้รับและความต้องการรูปแบบและวิธีการส่งเสริมการดำเนินงานของกลุ่มนาแปลงใหญ่ 5) วิเคราะห์แนวทางการส่งเสริมการดำเนินงานของกลุ่มนาแปลงใหญ่ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ สมาชิกกลุ่มนาแปลงใหญ่ตำบลหนองชัยศรี ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมส่งเสริมการเกษตร ปี 2559 จำนวน 160 คน ใช้สูตรการคำนวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างของทาโร่ ยามาเน่ ระดับความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 104 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) สมาชิกร้อยละ 53.80 เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 51 - 60 ปี มีพื้นที่เข้าร่วมโครงการเฉลี่ย 22.10 ไร่ ต้นทุนการผลิตข้าวต่อไร่เฉลี่ย 3,271.15 บาท 2) การดำเนินงานของกลุ่ม มีการบริหารจัดการกลุ่มอยู่ในระดับมาก การจัดการด้านการลดต้นทุนการผลิตข้าวอยู่ในระดับปานกลาง การจัดการด้านการเพิ่มผลผลิตข้าวอยู่ในระดับปานกลาง และการเชื่อมโยงการตลาดอยู่ในระดับน้อย 3) มีปัญหาในการดาเนินงานด้านการบริหารจัดการกลุ่ม ด้านการลดต้นทุนการผลิตข้าว ด้านการเพิ่มคุณภาพและผลผลิตข้าวและด้านการเชื่อมโยงการตลาดทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง มีข้อเสนอแนะเรื่องการสูบน้ำใต้ดินด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อใช้ในการทำนาและการเลี้ยงสัตว์ควบคู่กับการทำนาเพื่อใช้มูลสัตว์ทำปุ๋ยช่วยลดต้นทุนและสร้างรายได้เพิ่ม 4) ได้รับความรู้มากที่สุดในเรื่องการผลิตและการวางแผนการผลิตข้าวที่ได้มาตรฐานและมีความต้องการเพิ่มมากขึ้น โดยต้องการวิธีการส่งเสริมแบบกลุ่ม ผ่านช่องทางสื่อกิจกรรมประเภทอบรมและประชุม 5) แนวทางการส่งเสริมการดำเนินงานของกลุ่ม ได้แก่ สร้างการเรียนรู้ผ่านสื่อกิจกรรมประเภทอบรมและการประชุม ด้วยวิธีการส่งเสริมแบบกลุ่ม ข้อเสนอแนะในการส่งเสริมการดำเนินงานของกลุ่มนาแปลงใหญ่ ได้แก่ (1) ส่งเสริมและสนับสนุนให้สมาชิกกลุ่มมีการจดบันทึกข้อมูลบัญชีฟาร์มเพื่อนามาวิเคราะห์แนวทางในการลดต้นทุน (2) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเร่งสร้างการรับรู้ให้กับกลุ่มในด้านการวิเคราะห์ต้นทุนและการวางแผนการผลิตที่ได้คุณภาพและมาตรฐาน (3) สนับสนุนการจัดทาระบบข้อมูลและสารสนเทศการผลิตข้าวที่สามารถนำมาวิเคราะห์ศักยภาพและวางแผนการผลิตที่เหมาะสมกับพื้นที่ได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectข้าว--การผลิตth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตร--ไทย--บุรีรัมย์th_TH
dc.subjectการทำนา--ไทย--บุรีรัมย์th_TH
dc.titleการส่งเสริมการดำเนินงานของกลุ่มนาแปลงใหญ่ ตำบลหนองชัยศรี อำเภอหนองหงส์ จังหวัดบุรีรัมย์th_TH
dc.title.alternativeExtension of paddy collaborative farming operations in Nong Chai Si sub-district, Nong Hong district, Buri Ram Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) general conditions of paddy collaborative farming group members in Nong Chai Si sub-district 2) the operations of paddy collaborative farming group 3) problems and suggestions in paddy collaborative farming operations 4) the receiving and needs in the form and extension methods in the operation of paddy collaborative farming group 5) the analysis of extension guideline of the operation of paddy collaborative farming group. The population in this study was 160 members of paddy collaborative farming group in Nong Chai Si sub-district who had registered with agricultural extension department in the year 2016. The sample size of 104 people was calculated by using Taro Yamane formula with the error value of 0.05 and simple random sampling method. Tool used in this study was interview form. Data was analyzed by using frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, and standard deviation. The results of the study showed that 1) 53.80% of members were female with the age between 51-60 years. The average area that participated with the project was 22.10 Rai with the cost of rice production per Rai was 3,271.15 Baht. 2) The operation of the group had the group administration at the high level. The management in rice production cost reduction was at the moderate level. The management in rice product increase was at the moderate level and the market connection was at the low level. 3) The problems in regarding operations were such as group management, rice production cost reduction, quality increase and rice products, and market connection, were all at the moderate level. Suggestion included pumping from underground water using solar energy to use in rice production along with animal raising to get the animal dung and turned them into fertilizer which would help with the reduction of the production costs and the increase of the income. 4) They received knowledge the most about production and planning for standard rice production. They also had additional need in the knowledge about group extension method through activity media channel in the form of trainings and meetings. 5) Extension guideline in the group operations were such as the learning creation through activity media in the form of trainings and meetings by using group extension method. Suggestions in the operation extension of paddy cooperative farming included (1) encouraging and supporting members to record farm account information in order to analyze guidelines in cost reduction. (2) Related agencies should accelerate the knowledge perception for the group in the area of cost analysis and quality and standardized production. (3)Supporting rice production data and information technology management that were able to analyze the potential and appropriate production plan for specific areaen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
167305.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons