Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10987
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระวุธ ธรรมกุลth_TH
dc.contributor.authorดวงดาว เหมือนประสาท, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-12-28T03:05:15Z-
dc.date.available2023-12-28T03:05:15Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10987en_US
dc.description.abstractการวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยสังคมและสิ่งแวดล้อม ปัจจัยจิตวิทยา และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (2) การตัดสินใจเข้ารับบริการฟันเทียมของผู้สูงอายุ และ (3)ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้ารับบริการฟันเทียมของผู้สูงอายุในอำเภอชานุมาน จังหวัดอำนาจเจริญ ประชากรที่ศึกษาเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 60-74 ปี ที่ ที่อาศัยอยู่ในเขตอำเภอชานุมาน จังหวัดอำนาจเจริญที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากในปี 2562 จำนวน 462 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 210 คน เลือกโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือในการศึกยาเป็นแบบสัมภายณ์แบบมีโครงสร้าง ซึ่งมีค่าความเที่ยงด้านจิตวิทยาเท่ากับ 0.958 ส่วนประสมทางการตลาดเท่ากับ 0.998 และ การตัดสินใจเข้ารับบริการฟันเทียมเท่ากับ 0.930 เก็บข้อมูลระหว่างวันที่ 30 กันยายน 2563 ถึง 30 พฤศจิกายน 2563 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยค่าสถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเยี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบฟิชเชอร์แอคซ์แซคท์ และการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีสถานภาพสมรส จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือน 2-3 คน ไม่ได้อยู่คนเดียวหรือตามลำพัง การเดินทางมาโรงพยาบาลโดยอาศัยญาติ ใช้รถยนต์เป็นพาหนะในการเดินทาง มีปัจจัยจิตวิทยาและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดอยู่ในระดับมาก (2) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ตัดสินใจไม่เข้ารับบริการฟันเทียมร้อยละ 70.5 และ (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้ารับบริการฟันเทียม คือ สถานภาพ และลักษณะการอยู่อาศัยกับสมาชิกในครอบครัวสามารถร่วมกันทำนายได้ประมาณร้อยละ 73th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectฟันปลอมth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectฟัน--การดูแลและสุขวิทยาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้ารับบริการฟันเทียมของผู้สูงอายุ ในอำเภอชานุมาน จังหวัดอำนาจเจริญth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing decisions on dentures among the elderly in Chanuman district, Amnat Charoen Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis cross cross-sectional research aimed to study: (1) personal characteristics , social factors, environmental factors, psychological factors and marketing mix factor factors; (2) decisionecision- making about dentureentures; and (3) factors influencing decision s on denture s, all in elderly persons in Amnat Charoen’s Chanuman districtdistrict. The study involved 210 older persons randomly selected from 462 elderly patients who had received oral health examination examinations in 2019 , Data were collected using a questionnaire whose reliability value were 0.958, 0.998 and 0.930 for physiological, marketing mix , and decision decision-making factors , respectively, between September 30 and November 30 , 2020; and analyses were performed for quantitative data to determine frequencies, percentages, means, standard deviations, Fisher’s exact test, and logistic regression regression. The results indicated that, among study participants: (1) concerning personal characteristics, most of them were married women women, completed grade 4 (primary education), had 2-3 family members members, did not live alonelone, and went to hospital by car with their relatives relatives; the their psychological factors and marketing mix factor factors towards decision s on dentureentures were at a high level level; (2) 70 70.5 %, of them decidedecided not to have denture serviceservice; and (3) the factors affecting decisiondecisions on denturedentures were marital status an and sheltering pattern with family members, which could explain 73 .1% of opportunities to make such de cisioncisions.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168065.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons