Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11008
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวสุ สุวรรณวิหค, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรัตน์ บุญมี, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-01-04T03:35:52Z-
dc.date.available2024-01-04T03:35:52Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11008-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์เกี่ยวกับเรือนจำในประเทศไทย 2) สร้างตัวแบบพยากรณ์จำนวนผู้ต้องขังในประเทศไทย และ 3) คาดการณ์จำนวนผู้ต้องขังในประเทศไทยโดยจำแนกเป็นผู้ต้องขังคดียาเสพติด และผู้ต้องขังคดีทั่วไปข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือข้อมูลทุติยภูมิ มีลักษณะเป็นอนุกรมเวลารายเดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2552 ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 รวมข้อมูลทั้งหมด 144 ตัวอย่าง เพื่อสร้างตัวแบบพยากรณ์สำหรับคาดการณ์แนวโน้มจำนวนผู้ต้องขังในประเทศไทยในช่วง เดือนมกราคม ถึงธันวาคม พ.ศ. 2564 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางเศรษฐมิติ ด้วยวิธีบอกซ์-เจนกินส์ ได้แก่ การทดสอบความหยุดนิ่งของข้อมูล การสร้างตัวแบบจำลองที่เหมาะสมด้วยแบบจำลองอารีมา และการพยากรณ์อนุกรมเวลา ผลการศึกษา พบว่า 1) ในช่วงเวลา 10 ปีที่ผ่านมาจำนวนผู้ต้องขังในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นปีละประมาณ 17,000 คนโดยเฉลี่ย หรือร้อยละ 7 ทำให้มีผู้ต้องขัง 332,682 คนในปี พ.ศ. 2563 แบ่งเป็นผู้ต้องขังคดียาเสพติด จำนวน 257,686 คน หรือร้อยละ 77.4 และผู้ต้องขังคดีทั่วไป จำนวน 74,997 คน หรือร้อยละ 22.6 โดยจำนวนผู้ต้องชังสูงกว่าความจุของเรือนจำที่ 299,048 คน 2) แบบจำลองที่เหมาะสมต่อการพยากรณ์จำนวนผู้ต้องขังคดียาเสพติดและผู้ต้องขังคดีทั่วไป คือ แบบจำลอง ARIMA (3,1,3) และ ARIMA (1,0,0) ตามลำดับ และ 3) ผลการพยากรณ์พบว่า จำนวนผู้ต้องขังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 34,851 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 10.4 เมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2563 โดยแบ่งเป็นผู้ต้องขังคดียาเสพติด จำนวน 24,423 คนและผู้ต้องขังคดีทั่วไป จำนวน 10,428 คนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน--ไทย--ภาคเหนือth_TH
dc.subjectเศรษฐมิติth_TH
dc.subjectนักโทษ--แบบจำลองทางคณิตศาสตร์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการพยากรณ์จำนวนผู้ต้องขังในประเทศไทยด้วยวิธีบอกช์-เจนกินส์th_TH
dc.title.alternativeForecasting prison population in Thailand Using Box-Jenkins methoden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168317.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons