Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11027
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนารีรัตน์ สีสะสาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจงสินี เศิกศิริ, 2533-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-06T07:25:53Z-
dc.date.available2024-01-06T07:25:53Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11027-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564.th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) การปฏิบัติของเกษตรกรตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ (3) การเปลี่ยนแปลงการผลิตการเกษตรของเกษตรกรภายหลังจากการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ (4) ปัญหาและความต้องการของเกษตรกรเกี่ยวกับการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ "โคก หนอง นา โมเดล" ในเขตอำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 135 ราย เก็บข้อมูลจากประชากรทั้งหมด โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรเป็นเพศชายและเพศหญิงใกล้เคียงกัน เป็นเพศชายร้อยละ 56.30 มีอายุเฉลี่ย 54.95 ปี เกษตรกรร้อยละ 44.44 มีการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. เกษตรกรร้อยละ 53.33 มีจำนวนแรงงานในครัวเรือน 2 คน มีประสบการณ์ทำการเกษตรเฉลี่ย 24.20 ปี รายได้ครัวเรือนต่อปีเฉลี่ยปีละ 170,517 บาท พื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 18.21 ไร่ 2) เกษตรกรมีการปฏิบัติและมีการดำเนินการในการทำการเกษตรตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นส่วนใหญ่ ประเด็นที่เกษตรกรปฏิบัติไม่มากคือ การรวมกลุ่มทางด้านการเกษตรของชุมชนเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน และการทำบัญชีครัวเรือน/บัญชีฟาร์ม 3) เกษตรกรมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการปฏิบัติในการปลูกพืช โดยเกษตรกรมีพื้นที่ปลูกข้าวลดลง พื้นที่ปลูกไม้ผล / ไม้ยืนต้น พืชผักและพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น กิจกรรมที่ได้ผลผลิตและรายได้เท่าเดิม ได้แก่ ข้าวและพืชไร่ กิจกรรมที่ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นและรายได้เท่าเดิม ได้แก่ ไม้ผล / ไม้ยืนต้น กิจกรรมที่ได้ผลผลิตและรายได้เพิ่มขึ้น ได้แก่ พืชผัก ปศุสัตว์ และสัตว์น้ำ ทั้งนี้ เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้เวลาในการทำการเกษตรเพิ่มขึ้น 4) ปัญหาและความต้องการของเกษตรกรเกี่ยวกับการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยวิเคราะห์ 3 ด้าน คือ กระบวนการผลิตการเกษตรสภาพแวดล้อมการผลิตการเกษตร การจัดการการผลิตการเกษตร พบว่า โดยภาพรวมเกษตรกรมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง มีประเด็นที่อยู่ในระดับมาก คือ ปริมาณน้ำที่ใช้ทำการเกษตร และเงินทุน นอกจากนี้ เกษตรกรมีความต้องการเกี่ยวกับการส่งเสริมในทุกด้านใกล้เคียงกัน.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectเกษตรทฤษฎีใหม่--ไทย--ร้อยเอ็ดth_TH
dc.subjectการพัฒนาการเกษตรth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตร--ไทยth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.titleการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวทางที่เหมาะสมสำหรับเกษตรกรในเขตทุ่งกุลาร้องไห้ กรณีศึกษาอำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ดth_TH
dc.title.alternativeAn extension of appropriate New Agricultural Theory for farmers in Thung Kula Ronghai area: a case study of Suwannaphum District of Roi Et Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168850.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons