Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11091
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorช่อทิพย์ บรมธนรัตน์th_TH
dc.contributor.authorไชยพัทธ์ ภูริชัยวรนันท์, 2510-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-12T06:56:29Z-
dc.date.available2024-01-12T06:56:29Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11091-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล การรับรู้อำนาจหน้าที่ และภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของสาธารณสุขอำเภอ (2) การบริหารงานสาธารณสุขของสาธารณสุขอำเภอ และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การรับรู้อำนาจหน้าที่ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของสาธารณสุขอำเภอ กับการบริหารสาธารณสุขของสาธารณสุขอำเภอในจังหวัดกาญจนบุรี ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้บริหารสาธารณสุขในระดับอำเภอ จำนวน 158 คน ประกอบด้วย สาธารณสุขอำเภอ จำนวน 13 คน และผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 145 คน โดยศึกษาทุกหน่วยประชากร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่มีความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ 0.82 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือสถิติพรรณนา แสดงด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร์และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคล ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 50.22 ปี ระยะเวลาการปฏิบัติงานในกระทรวงสาธารณสุขเฉลี่ย 28.98 ปี มีระยะเวลาปฏิบัติงานในหน่วยงาน ปัจจุบันเฉลี่ย 15.85 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี การรับรู้อำนาจหน้าที่สาธารณสุขอำเภอและภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของสาธารณสุขอำเภอ อยู่ในระดับมาก และการปฏิบัติ ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของสาธารณสุขอำเภออยู่ในระดับมาก (2) การบริหารสาธารณสุขของสาธารณสุขอำเภอ อยู่ในระดับมาก และ (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการบริหารงานสาธารณสุขของสาธารณสุขอำเภออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การรับรู้อำนาจหน้าที่สาธารณสุขอำเภอ และภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของสาธารณสุขอำเภอ (p-0.001) และระดับการศึกษา (p<0.05)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการบริหารงานสาธารณสุขของสาธารณสุขอำเภอในจังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors related to public health administration of district public health officers in Kanchanaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis cross-sectional survey research aimed to 1) study personal characteristic factors, authority perception and transformational leadership of district public health officers; 2) identify public health administration of district public health officers; and3) determine the relationship between personal factors, authority perception, transformational leadership of district public health officers and public health administration of district public health officers in Kanchanaburi province. The study population was conducted in all 158 district health executives in Kanchanaburi province including 13 district public health officers and 145 sub-district health promoting hospital directors. Data was collected using a questionnaire with the reliability value of 0.82. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, chi-square test, and Pearson's product moment correlation coefficient. The research revealed that (1) personal characteristic factors, all of respondents, most of them were males aged 50.22 years on average; had on average 28.98 years of work in Ministry of Public Health, and 15.85 years in present positions; and finished a bachelor’s degree, among all of ditricts health officers, their authority perception and transformational leadership of district public health officers were at a high level; (2) district public health officers’ public health administration capacities were at a high level.; and (3) among all district public health pfficers, the factors significantly related to their public health administration capacitiea were authority perception and transformational leadership (p <0.001) and educational level (p <0.05)en_US
dc.contributor.coadvisorวรางคณา จันทร์คงth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons