Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11211
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนารีรัตน์ สีระสาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิตติกานต์ ศรีธิทอง, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-19T08:01:56Z-
dc.date.available2024-01-19T08:01:56Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11211-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ 2) สภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง 3) ความต้องการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะของการส่งเสริมการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้งของเกษตรกร 5) แนวทางการส่งเสริมการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง ประชากรที่การศึกษา คือ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง ในจังหวัดกำแพงเพชร ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมส่งเสริมการเกษตร ในจังหวัดกำแพงเพชร ปี 2563/64 จำนวน 245 ราย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตร ทาโรยามาเน มีความคลาดเคลื่อนที่ 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 152 ราย โดยวิธีสุ่มแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลคือแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการจัดอันดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรเป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 50.06 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ประสบการณ์การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้งเฉลี่ย 12.02 ปี พื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง เฉลี่ย 14.07 ไร่ แรงงานที่ใช้เฉลี่ย 3.65 คน 2) สภาพการการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง พื้นที่ปลูกเป็นที่ราบลุ่ม ใช้พันธุ์ แปซิฟิก 339 มีการปรับปรุงบำรุงดิน โดยปลูกพืชหมุนเวียนไถเตรียมดิน โดยไถดะ 1 ครั้ง และไถพรวน 1 ครั้ง ฉีดพ่นสารเคมีป้องกันกำจัดโรคแมลงศัตรูพืชเก็บเกี่ยวแล้วสีเป็นเมล็ดแล้วขายทันที 3) ความต้องการการส่งเสริมปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้งของเกษตรกร ในระดับมาก ในด้านการส่งเสริมแบบรายบุคคลจากเจ้าหน้าที่ 4) เกษตรกรมีปัญหาในระดับมากเรื่องการได้ความรู้และคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ ข้อเสนอแนะ เจ้าหน้าที่ควรลงพื้นที่เพื่อให้คำแนะนำและคำปรึกษาแก่เกษตรกรเป็นประจำ 5) แนวทางการส่งเสริมการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้งจัดกิจกรรมให้ความรู้ มีการฝึกอบรม เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ใหม่ ๆ แก่เกษตรกรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectข้าวโพด -- การปลูกth_TH
dc.subjectอาหารสัตว์จากข้าวโพดth_TH
dc.subjectข้าวโพด -- ไทย -- กำแพงเพชรth_TH
dc.titleการส่งเสริมการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้งของเกษตรกรในจังหวัดกำแพงเพชรth_TH
dc.title.alternativeExtension of dry-season maize production for farmers in Kamphaeng Phet Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
169132.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons