Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11238
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรารักษ์ โพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิรภัทร ศิริไล, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-01-24T02:11:34Z-
dc.date.available2024-01-24T02:11:34Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11238-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การเปิดรับสื่อการฝึกคอบร้าโกลด์ ระหว่างกองทัพไทย กองทัพสหรัฐอเมริกา และกองทัพมิตรประเทศของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร 2) ความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ต่อข่าวสารการฝึกคอบร้าโกลด์ ระหว่างกองทัพไทย กองทัพสหรัฐอเมริกา และกองทัพมิตรประเทศ 3) เปรียบเทียบระดับการเปิดรับสื่อการฝึกคอบร้าโกลด์ ระหว่างกองทัพไทย กองทัพสหรัฐอเมริกา และกองทัพมิตรประเทศ ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครตามลักษณะทางประชากร 4) เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครต่อข่าวสารการฝึกคอบร้าโกลด์ ระหว่างกองทัพไทย กองทัพสหรัฐอเมริกา และกองทัพมิตรประเทศตามลักษณะทางประชากร ผลการวิจัยพบว่า 1) การเปิดรับสื่อการฝึกคอบร้าโกลด์ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางโดยมีการเปิดรับสื่อการฝึกคอบร้าโกลด์จากสมาชิกในครอบครัว ญาติ เพื่อน มากที่สุด 2) ความคิดเห็นต่อข่าวสารการฝึกคอบร้าโกลด์ ในระดับเห็นด้วยมาก โดยมีความเห็นด้วยมากที่สุดในประเด็นการฝึกคอบร้าโกลด์เป็นการพัฒนาขีดความสามารถให้กับกำลังพลของกองทัพไทยและกองทัพมิตรประเทศในปฏิบัติการร่วม/ผสม 3) กลุ่มตัวอย่างที่มี เพศ อาชีพ และรายได้ แตกต่างกัน มีการเปิดรับสื่อการฝึกคอบร้าโกลด์ ระหว่างกองทัพไทย กองทัพสหรัฐอเมริกา และกองทัพมิตรประเทศ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ 0.05 4) กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับการศึกษา และ อาชีพ แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อข่าวสารการฝึกคอบร้าโกลด์ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการสื่อสารในสื่อมวลชนth_TH
dc.subjectทหารในสื่อมวลชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleการเปิดรับสื่อการฝึกคอบร้าโกลด์ ระหว่างกองทัพไทย กองทัพสหรัฐอเมริกา และกองทัพมิตรประเทศ ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeBangkok citizens’ exposure to media regarding the Cobra Gold joint exercises of the Thai armed forces together with the armed forces of the USA and allied nationsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) Bangkok residents’ exposure to media about the Cobra Gold joint exercises of the Thai armed forces together with the armed forces of the USA and allied nations; 2) Bangkok residents’ opinions about news about Cobra Gold; 3) the relationship between demographic factors and Bangkok residents’ exposure to media on Cobra Gold; 4) the relationship between demographic factors and Bangkok residents’ opinions on news about Cobra Gold. This was a survey research. The sample population was 400 residents of Bangkok. The research tool was an online questionnaire that was posted on Facebook groups and Line groups for Bangkok residents. Data were statistically analyzed to find percentage, mean, and standard deviation; and ANOVA, t test and LSD were used to compare differences for hypothesis testing. The results showed that 1) Overall, the samples had a medium level of exposure to media about Cobra Gold. They were exposed to personal media (family members, relatives and friends) the most. 2) The samples had a very positive opinion on news about Cobra Gold. The topic that they strongly agreed with the most was that it increased the capabilities of members of the Thai armed forces and their allies for performing joint operations. 3) There was a statistically significant correlation (p<0.05) between the demographic factors of sex, occupation and income range and exposure to media about Cobra Gold. 4) There was a statistically significant correlation (p<0.05) between the demographic factors of educational level and occupation and opinion about news about Cobra Gold.en_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons