Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11246
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ปิยะนุช ทีทา, 2522- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-24T06:22:39Z | - |
dc.date.available | 2024-01-24T06:22:39Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11246 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น และ (2) เปรียบเทียบการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น จำแนกตามขนาดสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูในสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น จำนวน 254 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 197 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) การบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับดังนี้ การพัฒนาประสิทธิภาพระบบทรัพยากรบุคคล การต่อยอดการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ทรัพยากรบุคคลการส่งเสริมการพัฒนาบุคลากร การเน้นความโปร่งใสในระบบบริหารทรัพยากรบุคคล การสร้างเสริมหลักธรรมาภิบาล การกำกับ ติดตามและประเมินผล การปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง และการขับเคลื่อนระบบทรัพยากรบุคคลส่วนท้องถิ่นด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี และ (2) ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่า สถานศึกษาขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และใหญ่พิเศษ ไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น--การบริหารงานบุคคล | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.title | การบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น | th_TH |
dc.title.alternative | Personnel administration of Schools under Khon Kaen Provincial Administration Organization | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to study personnel administration of schools under Khon Kaen Provincial Administration Organization; and (2) to compare the levels of personnel administration of schools under Khon Kaen Provincial Administration Organization as classified by school size. The research sample consisted of 254 teachers in schools under Khon Kaen Provincial Administration Organization, obtained by stratified random sampling based on school size. The employed research instrument was a questionnaire with reliability coefficient of .97. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, one way ANOVA, and Scheffe’s method of pairwise comparison. The findings revealed that (1) the overall and specific roles of personnel administration of schools under Khon Kaen Provincial Administration Organization were rated at the high level, and the specific aspects could be ranked based on their rating means as follows: the human resource system efficiency development; the extension to enhance the quality of life for human resources; the promotion of personnel development; the emphasis on transparency in the human resource management system; the promotion of good governance principles; the monitoring, follow-up and evaluation of the improvement of structure and manpower; and the mobilization of the local human resource system via innovation and technology; and (2) as for comparison results of the levels of personnel administration of schools under Khon Kaen Provincial Administration Organization as classified by school size, it was found that small sized schools, middle sized schools, large sized schools and extra-large sized schools were not significantly different in their levels of personnel administration | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
162811.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License