Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1126
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุษณะ รุ่งปัจฉิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจิตตินันท์ เดชะคุปต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุวดี บุญโชติ, 2502--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T04:04:59Z-
dc.date.available2022-08-27T04:04:59Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1126-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คศ.ม.(การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการรับชมรายการโทรทัศน์ของ สมาชิกในครอบครัวนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานในเขตอำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการรับชมรายการโทรทัศน์ ของบุตรซึ่งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและบุตรซึ่งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้แบ่งเป็น 3 กลุ่มย่อย คือ บุตร (ตัวนักเรียน) บิดา และมารดา กลุ่มละ 202 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามทีผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัชณิมเลขคณิต ค่าดํ่าสุด ค่าสูงสุด ไค-สแควร์ และ t-test ผลการวิจัยพบว่า (1) ในช่วงวันจันทร์-ศุกร์ทั้งบิดา มารดา และบุตรนิยมรับชมรายการ โทรทัศน์ในช่วง 18.00-22.00 น. สำหรับวันหยุดบุตรใช้เวลารับชมรายการโทรทัศน์เกือบตลอดวัน ตั้งแต่เช้าถึงกลางคืน (2) บิดาชอบรับชมรายการข่าวมากที่สุด ส่วนมารดาและบุตรชอบรับชม รายการละครมากที่จุด (3) สมาชิกในครอบครัวรับชมรายการโทรท้ศน์ร่วมกันอย่างเด่นชัด (4) กิจกรรมอึ่นที่สมาชิกในครอบครัวนิยมทำขณะรับชมรายการโทรทัศน์ได้แก่ รับประทานอาหาร อ่านหนังสือ และคุยกัน (5) บุตรซึ่งเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นรับชมรายการโทรทัศน์ มากกว่า บุตรซึ่งเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (6) บุตรซึ่งเป็นนักเรียนระดับมัธยม ศึกษาตอนต้นรับชมรายการสารคดีน้อยกว่าบุตรซึ่งเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แต่ รับชมรายการละครโมษณา และการ์ตูนมากกว่าบุตรซึ่งเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.278-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectรายการโทรทัศน์th_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.titleพฤติกรรมการรับชมรายการโทรทัศน์ของสมาชิกในครอบครัวนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา : กรณีศึกษาโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตอำเภอเมืองจังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeTelevision viewing behaviors of family members of secondary school students : a case study of schools under the office of basic education commission in Muang district, Pathumthani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.278-
dc.degree.nameคหกรรมศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study television viewing behaviors of the family members of students in secondary schools in Muang District, Pathumthani Province; and 2) to compare television viewing behaviors of lower secondary level students (M.1 - M.3) and upper secondary level students (MA - M.6) in secondary schools in Muang District, Pathumthani Province. Subjects were 202 secondary schools children, with their fathers and mothers. Instrument was a questionnaire developed by the researcher. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, minimum, maximum, Chi-square test and t-test. Research findings were as follows: (1) fathers, mothers, and children watched television regularly on weekdays during 18.00-22.00, while on holidays children tended to watch television nearly all the time from morning to night; (2) fathers liked mostly news programs while mothers and children preferred soap operas: (3) family members regularly watched television together; (4) while watching television, family members tended to do other activities which mostly were eating, reading, and chatting; (5) lower secondary level students spent more time viewing television than upper secondary level students: (6) while watching less documentary programs, lower secondary level students watched more soap opera, advertisement, and cartoon programs than upper secondary level studentsen_US
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext 83650.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons