Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11361
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุดารัตน์ ชูพิทักษ์, 2537--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-02-02T01:53:03Z-
dc.date.available2024-02-02T01:53:03Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11361-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนเรือของสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาเกาะพะงัน 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนเรือของสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาเกาะพะงัน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) เพื่อเสนอแนะการยกระดับคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนเรือของสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาเกาะพะงันการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์เชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ใช้บริการงานทะเบียนเรือของสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาเกาะพะงัน จำนวน 702 ราย กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 255 คน โดยคำนวณจากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ผล ได้แก่ การแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิติแบบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน รวมถึงการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ ผลการศึกษา พบว่า 1) ระดับคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนเรือของสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาเกาะพะงันโดยรวมอยู่ในระดับสูงที่สุด โดยด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมา ด้านการรู้จักและเข้าใจผู้รับบริการ ด้านความเชื่อถือไว้วางใจได้ ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อผู้รับบริการ และด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ตามลำดับ 2) ผู้รับบริการที่มีปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยเดือน และอาชีพ แตกต่างกัน มีระดับคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนเรือของสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาเกาะพะงันแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3) ผู้ศึกษาจึงเสนอแนะการให้บริการโดยให้ความสำคัญกับผู้ใช้บริการให้บริการด้วยความรวดเร็ว เต็มใจ สุภาพ และให้ข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วนเพื่อยกระดับคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนเรือของสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาเกาะพะงันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectกรมเจ้าท่า. สำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาเกาะพะงัน --ไทยth_TH
dc.subjectเรือ--การจดทะเบียนและการโอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนเรือของสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาเกาะพะงันth_TH
dc.title.alternativeService quality of ship registration service of Marine Department at Koh Phangan Branchen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims 1) To study Service Quality of Ship Registration Service of Marine Department at Koh Phangan Branch 2) To compare really Service Quality of Ship Registration Service of Marine Department according to the perceptions of the users and 3) To suggest improvement of Service Quality of Ship Registration Service of Marine Department at Koh Phangan Branch. The independent study is a quantitative research. The population used in this independent study was 702 people who used ship registration service of Marine Department at Koh Phangan Branch. The sample group of 255 people calculated from Taro Yamane. Data were collected by using questionnaires and stratified sampling. The statistics for analyzing personal factor results were informing of frequency, percentage, mean and standard deviation and using inferential statistics to test hypotheses and analyze quantitative data by t-test, F-Test and Least Significant Difference (LSD) test method. The study shows that 1) the overall Service Quality of Ship Registration Service of Marine Department at Koh Phangan Branch was at the highest level. The highest was responsiveness, followed by empathy, reliability, assurance and tangibility, respectively. 2) Users with personal characteristics such as gender, age, education level, average monthly income and occupation are different have quality level of Service Quality of Ship Registration Service of Marine Department at Koh Phangan Branch differed statistically. 3) Therefore, author recommends service by giving importance to user, providing service with speed, willingness, politeness and providing accurate information to complete to enhance the Service Quality of Ship Registration Service of Marine Department at Koh Phangan Branchen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168361.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons