Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1136
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ สุธรรมาสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภาวดี สุดศักดา, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T04:36:02Z-
dc.date.available2022-08-27T04:36:02Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1136-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ทั่วไปเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการนำน้ำกากส่าเหล้า จากโรงงานสุรามาใช้เสริมกับอาหารปลาสำเร็จรูปในการเลี้ยงปลานิล และมีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อ (1) เปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปลานิลในแต่ละสูตรอาหาร (2) เปรียบเทียบอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อและต้นทุนค่าอาหารในแต่ละสูตรอาหาร (3) ศึกษาคุณภาพน้ำของบ่อเลี้ยงปลานิลจากการให้อาหารในสูตรต่าง ๆ การศึกษาครังนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มตลอด โดยการเลี้ยงปลานิล น้ำหนักเฉลี่ยเริ่มต้น 9.5 กรัม และความยาวเฉลี่ยเริ่มต้น 8.0 เซนติเมตร จํานวน 300 ตัว เป็นเวลา 6 สัปดาห์ ในบ่อซีเมนต์กลม โดยใช้สูตรอาหารที่แตกต่างกัน 5 สูตร 3 ซ้ำ ดังนี้ (1) ให้เฉพาะน้ำกากส่าเหล้า 1.0 พีพีเอ็ม (2) ให้เฉพาะอาหารปลาสำเร็จรูป (3) ให้อาหารปลาสําเร็จรูป และเติมน้ำกากส่าเหล้า 0.5 พีพีเอ็ม (4) ให้อาหารปลาสำเร็จรูป และเติมน้ำกากส่าเหล้า 1.0 พีพีเอ็ม (5) ให้อาหารปลา สำเร็จรูป และเติมน้ำกากส่าเหล้า 1.5 พีพีเอ็ม จากการวิจัยพบว่า (1) ปลานิลในสูตรที่ 1-4 มีน้ำหนักเฉลี่ยเป็น 11.03, 16.05, 14.24 และ 14.99 กรัม/ตัว ตามลำดับ ซึ่งปลานิลในสูตรที่ 2 มีอัตราการเจริญเติบโตสูงที่สุดและไม่แตกต่างจากปลานิลในสูตรที่ 4 อย่างมีนัยสำคัญ ส่วนปลานิลในสูตรที่ 5 ไม่สามารถนำมาคำนวณค่าทางสถิติได้ เนื่องจากมีอัตราการรอดตายเป็นศูนย์ อัตราการรอดตายของปลานิลในสูตรที่ 1-4 มีค่า ร้อยละเป็น 65.00, 95.00, 85.00 และ 91.67 ตามลำดับ ปลานิลในสูตรที่ 1 มีค่าอัตราการรอดตายแตกต่างจากปลานิลในสูตรที่ 2-4 อย่างมีนัยสำคัญ (2) ปลานิลในสูตรที่ 4 มีอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อและต้นทุนค่าอาหารต่ำที่สุด รองลงมาคือปลานิลในสูตรที่ 2 และ 3 ตามลำดับ (3) คุณภาพน้ำตามพารามิเตอร์ต่าง ๆ ในทุกกลุ่มสูตรอาหาร ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ จากผลการทดลองครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าน้ำกากส่าเหล้าจากอุตสาหกรรมสามารถใช้เสริมกับอาหารปลาสําเร็จรูปในการเลี้ยงปลานิลได้ แต่น้ำกากส่าเหล้าในอัตรา 1.5 พีพีเอ็ม ไม่เหมาะที่จะนำไปใช้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.302-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectปลานิล--อาหารth_TH
dc.subjectกากส่าเหล้า--การใช้ประโยชน์th_TH
dc.titleการเสริมน้ำกากส่าเหล้าจากอุตสาหกรรมสุราเพื่อสร้างอาหารธรรมชาติในบ่อเลี้ยงปลานิลth_TH
dc.title.alternativeSupplementation of slop from alcoholic industry as natural feed for fish (oreochromis niloticus) in pondth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2004.302-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe general purpose of this study was to study the possibility of supplementing slop from distillery with fish diets to feed fish (Oreochromis niloticus) and the specific purposes of this research were: (1) to compare growth rate and survival rate of fish in each feed formular; (2) to compare feed conversion ratio (FCR) and feed cost in each feed formular; and (3) to study water quality in fish pond from each feed formular. The study was experimental research with Completely Randomized Design in order to fish feed which the initial average weight and length were 9.5 g. and 8.0 cm. 300 fish for 6 weeks in circle cement pond. The experiment used 5 different feed formulars for 3 times including (1)1 ppm. of slop only (2) fish diets only (3) fish diets with 0.5 ppm. of slop (4) fish diets with 1.0 ppm. of slop (5) fish diets with 1.5 ppm. of slop. The result showed that (1) the average weight of the fish in feed formular 1-4 was 11.03, 16.05, 14.24 and 14.99 g., respectively. The fish in feed formular2 had the highest growth rate with no statistically significant difference from the fish in feed formular4. The growth rate of fish in feed formular5 could not be statistically calculated because their survival rate was zero. The survival rate of the fish in feed formular 1-4 was 65.00, 65.00, 85.00 and 91.67 %, respectively. However, the fish in feed formular 1 had statistically significant difference with the in feed formular2-4; (2) The feed conversion ratio (FCR) and feed cost of the fish will lowest in feed formular4 follow by the fish in feed formular2 and 3, respectively; and (3) each parameter of water quality was found no statistically significant difference among all feed formulars. This research indicated that slop from alcoholic industry could be supplemented to feed fish but 1.5 ppm. of slop was not appropriate for useen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
86606.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons